top of page

ความคิดเห็นในฟอรัม

แสดงความเห็นและกิจกรรมกลุ่ม 393 ภาคพิเศษ
In General Discussions
ttc62153481
05 ต.ค. 2565
นางสาว สิริวิมล คงเกษม รหัส 65423471136 การบริหารการพฒันา(Development Administration) หมายถึงสาขาวิชาและยงั หมายถึงกิจกรรมหรือกระบวนการการบริหารการพฒันายงัหมายถึงการพฒันาการบริหาร (Development of Administration / D of A) และการบริหารเพื่อการพฒั นา (Administration of Development / A of D) การพฒันาการบริหาร หมายถึงการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือปฏิรูป สภาพแวดล้อมนิเวศวิทยาโครงสร้างกกระบวนการรวมถึงเทคโนโลยีและพฤตกิรรมการบริหาร การบริหารการพฒันาหมายถึงความสามารถในการลงมือปฏิบัติตามนโยบายแผน แผนงานโครงการหรือกิจกรรมพฒันาจริงๆเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงตามที่ได้วางแผนไว้ ลว่ งหน้า ซงึ่ เน้นความเจริญเตบิ โตทางการบริหาร องค์ประกอบของการบริหารการพฒันา การบริหารการพฒันาจะมีองค์ประกอบหลกัๆอยู่2ประการคือองค์การพฒันาการ บริหารและองค์ประกอบการบริหารการพฒันาโดยแตล่ะองค์ประกอบหลกันีจ้ะมีองค์ประกอบรอง อีกด้วย 1.องค์ประกอบหลกัการพฒันาการบริหารหมายถึงการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุง หรือปฏิรูปสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา รวมถึงเทคโนโลยี พฤตกิ รรมการบริหาร 2.องค์ประกอบหลกัการบริหารเพื่อการพฒันา(DevelopmentofAdministration) หมายถึงการนาเสนอสมรรถนะหรือความสามารถที่มีอยู่ในระบบบริหารมาลงมือปฏิบตัติาม นโยบายแผนแผนงานโครงการหรือกิจกรรมพฒันาจริงๆเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่ว่า แผนไว้ลว่งหน้า สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒั นา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรมนามธรรมทงั้ ภายนอกภายในและรอบๆองค์การและสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าวนี้มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมของการพฒันาการบริหารและการบริหารเพื่อการพฒันาหรือในทางที่ กลบักนัสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาจรวมถึงสภาพ ภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพสว่นสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรมได้แก่ การประดษิฐ์คดิค้นทางสงัคมอนัรวมถึงสหภาพแรงงานกลมุ่ผลประโยชน์อดุมการณ์อารยธรรม ธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกบคุ คล ระบบการเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น ผลงานของเกาส์ สะท้อนให้เห็นถึงสภาพแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจ ซงึ่มีการรวบ สนบัสนนุแนวคิดของผู้รู้บางท่านว่าสภาพแวดล้อมต่างๆล้วนแตเ่ป็นวัตถุดิบสาหรับการวิเคราะห์ และสงัเคราะห์พฤติกรรมทางการเมืองของชาวอเมริกนั ในชว่งเวลา เกาส์ชีใ้ห้เห็นว่ามี สภาพแวดล้อมอะไรบ้างที่ควรให้แก่การสนใจเป็นพิเศษ ผลงานของ ดาห์ล ชีใ้ห้เห็นว่า การบริหารรัฐกิจจะเป็นศาสตร์ไปไมไ่ ด้เลยหากมิได้ใช้ แนวทางการศกึษาเชิงเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมในส่วนที่เกี่ยวกบัเวลาและสถานที่ ตลอดจน สถานการณ์นอกจากนีก้ารบริหารรัฐกิจจะเป็นไปไมไ่ด้หากวิธีเชิงประจกัษ์และใช้ตวัแปรเสรีระหรือ ร่างกาย และจิตวิญาณ ผลงานของริกซ์ การที่เราสามารถเข้าใจพฤตกิรรมการบริหารในสภาพแวดล้อมต่างๆนนั้ จาเป็นต้องมีการศกึษาเปรียบเทียบพฤติกรรมนนั้ในสภาพแวดล้อมเศรษฐกิจสังคมสญัลกัษณ์ การสื่อข้อความและการเมืองทั้งที่แตกต่างกัน จึงเสนอให้มีการศกึษา สภาพแวดล้อมให้โน้มน้าวไปในทิศทางที่ตนต้องการมากเพียงใด ก็ยิ่งจะตรงกับปรัชญาของการ บริหารการพฒันามากขึ้นเพียงนั้น ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา แบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท 1.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒันาจากภายนองประเทศอนัได้แก่ประชากร เทคโนโลยีและชีวภาพสิ่งประดษิ ฐ์คิดค้นด้านสงั คมและอดุ มการณ์เป็นต้น 2.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒันาภายในประเทศอนัได้แก่สภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ 3.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒันาภายในองค์การซงึ่รวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือ ความขดัแย้งระหว่าองค์การและบคุคลความขดัแย้งระหว่างความคาดหลงัขององค์การและความ ต้องการของบคุ คล
0
0
ช่องทางส่ง Final สำหรับกลุ่ม 393 คำถาม: แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคต น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
In General Discussions
ttc62153481
06 ก.ย. 2565
นางสาว สิริวิมล คงเกษม 65423471136 แนวโน้มที่ 1 คือแนวโน้มการบูรณาการข้ามหน่วยงาน (Seamless Government) ซึ่งเกิดจากหลักการการให้บริการโดยให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (people centric) ตัวอย่างที่โดดเด่นคือความริเริ่ม กระทรวงความเป็นไปได้ (Ministry of Possibilities) ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งได้เปิดตัวกระทรวงความเป็นไปได้แห่งแรกของโลก ในลักษณะกระทรวงเสมือนที่ไม่มีรัฐมนตรีเป็นของตัวเอง แต่ถูกนำโดยคณะรัฐมนตรีแทน แนวโน้มที่ 2 คือแนวโน้มของการใช้การทดลองและใช้ปัญญาจากมหาชน (Experiment and Crowdsourcing Services) เพื่อพัฒนาบริการใหม่ เป็นอีกแนวโน้มที่เริ่มเกิดขึ้นไม่นานนัก โดยเน้นการเปิดพื้นที่ให้ประชาชนและภาคส่วนต่างๆ มาร่วมกันทดลองและเสนอนวัตกรรมในบริการภาครัฐ ผ่านห้องปฏิบัติการบริการภาครัฐ (government lab) หรือแพลตฟอร์มการทดลอง และกระบะทราย (sandbox) ต่างๆ แนวโน้มที่ 3 คือ แนวโน้มของการใช้ข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนานโยบายและให้บริการกับประชาชน (Data Driven Government Services) ซึ่งเราจะเห็นได้จากตัวอย่างการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อบริหารจัดการโควิด-19 วิเคราะห์การเคลื่อนย้ายของคนและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยผ่านข้อมูลรายบุคคล แนวโน้มที่ 4 คือภาครัฐแบบเปิดและนวัตกรรมประชาธิปไตย (Democratic Innovation and Open Government) เป็นแนวโน้มที่กำลังขยายตัวทั่วโลก ดังเช่นกรณีของ Decide Madrid แพลตฟอร์มของสเปน เมืองมาดริก ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนที่อาศัยในเมืองมีส่วนร่วมกับเมืองในด้านต่างๆ ทั้งเสนอความคิดเห็น เสนอโครงการ โหวตนโยบายและกฎหมาย และที่สำคัญคือสามารถมีส่วนร่วมกับงบประมาณของเมือง (Participatory Budgeting) ได้
0
0

ttc62153481

ขั้นตอนดำเนินการอื่นๆ
bottom of page