ศูนย์เรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมช
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module2
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์Module3
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module 1
more
จ.ส.อ.กิตติคุณ พันธุ์ไชยา64423471357
ตอบ แนวโน้มและทิศทางการบริหารสํานักงานในอนาคต
การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สําคัญดังนี้
1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มี ประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบรหิ ารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนํามาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สําคัญ
2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจํานวน
มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ
ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขนึ้ ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลด อัตราการเตบิโตของประชากร
3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอนการ สร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการ บริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขัน ให้แก่ธุรกิจในอนาคต
4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทําให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทกุ หนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้ม ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกวา่นวัตกรรมพื้นฐาน
5. อํานาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของ งานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยดื หยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยไดใ้ นโลกการแขง่ ขนั ทท่ี วคี วามเขม้ ขน้ และรนุ แรงเพม่ิ ขน้ึ
วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น
1. การสร้างความคิด เปน็ ขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น
2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคดิ เพื่อสร้างคุณค่าการปฏบิ ัติให้มี
ศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น
3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนํานวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึง เรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์
ลักษณะของสํานักงานที่มีนวัตกรรม
สํานักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสําคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดําเนินการอย่างต่อเนื่อง สํานักงานที่มี นวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้
1.มีกลยุทธแ์ละนวัตกรรมในสํานักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2.มีโครงสร้างสํานักงานที่สนบัสนุนกระบวนการนวตักรรม
3. เป็นสํานักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสํานักงานให้การสนับสนุน
สํานักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาท นวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้
1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผสู้ ร้างบรรยากาศสําหรับผู้รู้ใหม่
3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนําไปปฏิบัติ
4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5.Leadersบทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอยา่งต่อเนื่อง
นอกจากนี้ สํานักงานมีนวตั กรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจาย อํานาจและให้อํานาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้าง ประชาธิปไตยในสํานักงานภายใต้ไว้วางใจ ทํางานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกําจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พล.อส สิทธิศักดิ ไชยมาตย์ 64423471358 ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ ตอบ การบริหารการพัฒนาเน้นการพัฒนาการบริหารมีองค์ประกอบอยู่2องค์ประกอบคือ 1.DofAคือการพัฒนาการบริหารเป็นการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิบัติรูปการโครงสร้างกระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารให้มีเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็ง เพื่อที่จะรองรับนโยบายกับ 2.AofDคือการบริหารเพื่อการพัฒนาเป็นการเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งขนึ้ ความสามารถท่ีมีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบตัติามนโยบายเพื่อรองรับภารกิจของการ บริหารการพฒันาที่วางแผนไว้ การพัฒนาการบริหาร D of A การเพิ่มพนูสมรรถนะหรือความสามารถของระบบการบริหารงานภายในคือโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารเพื่อรองรับปัญหาต่างๆที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของ สงัคม เพื่อให้บรรลเุป้าหมายปลายทางในการสร้างความเจริญก้าวหน้าทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงัคม เนือ้หาของการพัฒนาการบริหาร ครอบคลมุถึง โครงสร้าง กระบวนการ และพฤติ กรรมการบริหารที่เอื้ออำนวยตอ่การพัฒนายังครอบคลุมถึงสภาพแวดล้อมก็คือบรรยากาศการ บริหารและคณุภาพชีวิตในการทางาน แนวทางการพิจารณา แยกพิจารณาได้เป็น 2 ด้าน คือ 1.ด้านมหภาค เน้นเป็นการพัฒนาการบริหารด้านฝ่ายบริหาร กับฝ่ายการเมือง2.ด้านจลุภาคแนวทางการพฒันาการบริหารจะครอบคลมุถึงโครงสร้างกระบวนการและ พฤตกิรรมการบริหาร ขั้นตอนขอลการพัฒนาทางด้านการบริหาร สังคมเปลี่ยนแปลงตามลกัษณะทางด้าน บริหารนี้มีอย่ดู้วยกัน3ขั้นตอนใหญ่ๆคือสังคมการเกษตรกรรมไปสสูงัคมที่กาลงัเปลี่ยนแปลง ไปสู่สังคมอตุสาหกรรม
จ.ส.อ.อัศม์เดช มาทอง
64423471318
ส.ท.ยศพล จินดาวงค์
64423471281
คำถาม แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคต น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ตอบ การบริหารการพัฒนาราชการไทย มีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้องค์กรต่างๆ ขยายตัวได้อย่าง รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของ สังคมโดยจะนาสังคมและ โลกไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งด้าน ความเจริญ และความเสื่อมของสังคม ด้วย ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สมาน รังสิโยกฤษฏ์, 2546 : 1 กล่าวว่า โดยที่ระบบราชการไทยเป็นสถาบันหลัก ที่มีความสาคัญต่อความมั่นคงและความอยู่รอด ของประเทศไทย ตลอดจนเป็นกลไกหลักในการพัฒนาความ
เจริญของประเทศต่อไปในอนาคต จึงต้องมีการปรับปรุงหรือปฏิรูประบบราชการกันอย่างขนานใหญ่ เพื่อให้ ระบบราชการไทยเป็นระบบที่ มีวิสัยทัศน์ เป็นองค์การที่ทันสมัย มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ง่าย เน้นที่ผล การปฏิบัติ และมลี ักษณะเป็นการรวมพลัง
ววิ ัฒนาการการบริหารราชการในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย อาจแยกได้ 3 สมัย คือ
(1) สมัยที่เน้นการออกกฎระเบียบ และการบังคับให้เป็นไปตามกฎระเบียบ (Law and Order) ซึ่งเป็น สมัยก่อนปี ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยได้มีการออกกฎระเบียบต่างๆมากมาย เพื่อ กาหนดให้ประชาชนต้อง จดทะเบียนต่างๆ ต้องขออนุญาตกับทางราชการก่อนที่จะสามารถดาเนิน กิจการบางอย่างได้ และจะมีการ บังคับการให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆอย่างเคร่งครัด โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดเก็บภาษีอากร ค่า ใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมต่างๆ เพื่อเป็นรายได้ ของแผ่นดิน การบริหารราชการในสมัยนี้จะอยู่ในวงจากัด กล่าวคือ นอกจากจะมีหน้าที่ในการป้องกัน ประเทศ การรักษาวามสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การติดต่อ สัมพันธ์กับต่างประเทศแล้ว ก็จะเป็น การจดทะเบียนต่างๆ การจัดเก็บภาษีอากร การอนุญาตอนุมัติในเรื่อง ต่างๆ พร้อมกับการจัดเก็บค่า ใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตลอดจนการดาเนินการให้เป็นไปตาม กฎระเบียบที่กาหนดไว้ เพื่อรักษาความเป็นธรรม และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(2) สมัยที่เน้นการบริหารการพัฒนา (Development Administration) ซึ่งอยู่ ระหว่างปี ค.ศ.1960- 1990 (พ.ศ.2503-2533) เป็นสมัยที่ประเทศต่างๆ ได้มีการใช้แผนในการ พัฒนาประเทศ ในกรณีของ ประเทศไทยก็ได้มีการใช้แผนในการพัฒนาประเทศเช่นกัน ก็คือ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1” (พ.ศ.2504-2509) โดยรัฐบาลเป็นผู้นาและอานวยการ ในการพัฒนา ในระยะเริ่มแรกได้เน้นการพัฒนา เศรษฐกิจก่อน ต่อมาได้มีการรวมการพัฒนาสังคม เข้าไปด้วยเป็น “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการรองรับภาระหน้าที่และบทบาทใหม่ของรัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้น จึงได้มีการ จัดตั้ง
และขยายส่วนราชการ ตลอดจนเพิ่มจานวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกันอย่างต่อเนื่อง จนทาให้ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับบุคคลเพิ่มขึ้นเป็นกว่าร้อยละ 40 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่ หนักมาก จาเป็นจะต้องหา ทางแก้ไขต่อไป โดยสรุปแล้ว ในสมัยนี้ได้มีการขยายภาระหน้าที่และบทบาทของการบริหารราชการเพิ่มขึ้น มาก จนทาให้การบริหารราชการมีลักษณะอืดอาด อุ้ยอ้าย และล่าช้าในสายตาของประชาชน
(3) สมัยที่เน้นการกากับดูแลมากกว่าการจัดทาเอง (Steering Rather Than Rowing) ซึ่งได้เริ่มต้น อย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เป็นต้นมา โดยจะให้ภาคเอกชน เข้ามารับงานหรือภาระหน้าที่ บางอย่างของรัฐไปดาเนินการแทน และรัฐจะทาหน้าที่เป็นเพียงผู้กากับดูแลเท่านั้น อันเป็นการเปลี่ยน “กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) ในการบริหาร ราชการ กล่าวคือ จะเน้นการแปรสภาพงานของภาครัฐ ให้เป็นของภาคเอกชน (Privatization) พร้อมๆกันไปกับการมอบอานาจ (Delegation)การกระจายอานาจ (Decentralization) การเป็น ประชาธิปไตยหรือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วม (Democratization or People’s Participation) และการลดขนาดส่วนราชการและกาลังคนภาครัฐ (Downsizing) ซึ่งตามแนวทาง ดังกล่าวข้างต้น การบริหารราชการจะดาเนินการเฉพาะงานหรือภาระหน้าที่ ที่จาเป็นที่ไม่มีผู้ใดดาเนินการเท่านั้น สาหรับงานหรือภาระหน้าที่ที่มีผู้อื่นรับไปดาเนินการแทนนั้น รัฐจะทา หน้าที่เป็นผู้กากับดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนเท่านั้น ดังนั้น ในอนาคตการบริหารราชการจะมีขนาดที่เหมาะสม และคล่องตัว
ส.ท.หญิง ณัฐพัชร์ เบาราญ
รหัสนักศึกษา 64423471345
นางสาวหนึ่งธิดา ถาพรงาม
รหัสนักศึกษา 64423471326
ส.ท. อนาวิณ สวาสดื์เพชร
รหัสนักศึกษา 64423471316
14 สิงหาคม 2565
ส.ท.พุทธิพงศ์ ดีเบา
รหัสนักศึกษา 64423471351
ส.ท.หญิง พรลภัส พงษ์พา 64423471301
ข้อสอบปลายภาคกลุ่ม 391/2565 14 สิงหาคม 2565. 9.00 น.- 10.00น.
ส.ต.วุฑฒินันท์ พลนาแสน
รหัส 64423471285
คำถาม แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ด้วยวิสัยทัศนของประเทศไทยท่ีวา “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง”เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศนดังกลาว รัฐบาลจึงมี นโยบายที่จะใช้ โมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศไทยไปสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หรือที่เรารู้กันวา ไทยแลนด ๔.๐ หรือ ประเทศไทย ๔.๐ ดังน้ัน ระบบราชการก็จะตองมีการปรับเปลี่ยน เพื่อให้สอดรับ และสงเสริมไทยแลนด ๔.๐ จึงจําเป็นตองมีการปฏิริรูปูประบบราชการ และข้าราชการซึ่งเป็นฟันเฟืองสําคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล สามารถปฏิบัติงานได้สอดคลองกับทิศทางการบริหารของประเทศ
ระบบราชการ ๔.๐ ประเทศไทยมุงสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกําหนด ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอํานวยความสะดวกในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง ท่ีรวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงตองมุงเน้นความคลองตัวเพื่อขับเคลื่อน ภารกิจพิเศษ(Agenda – Based)และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบ ราชการสู่ Government 4.0
จ.ท.เสรีภาพ รักษ์เสรี 64423471355
ส.อ. อนุชิต พรดอนก่อ 64423471315
คำถามแนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ตอบ การบริหารการพัฒนาราชการไทย มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้องค์กรต่างๆ ขยายตัวได้อย่างรวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของ สังคมโดยจะนำสังคมและโลกไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งด้าน ความเจริญ และความเสื่อมของสังคมด้วย ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สมาน รังสิโยกฤษฏ์, 2546 : 1 กล่าวว่าโดยที่ระบบราชการไทยเป็นสถาบันหลักที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงและความอยู่รอด ของประเทศไทย ตลอดจนเป็นกลไกหลักในการพัฒนาความเจริญของประเทศต่อไปในอนาคต จึงต้องมีการปรับปรุงหรือปฏิรูประบบราชการกันอย่างขนานใหญ่ เพื่อให้ระบบราชการไทยเป็นระบบที่มีวิสัยทัศน์เป็นองค์การที่ทันสมัยมีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ง่ายเน้นที่ผลการปฏิบัติและมีลักษณะเป็นการรวมพลัง
วิวัฒนาการการบริหารราชการในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย อาจแยกได้ 3 สมัย คือ
(1) สมัยที่เน้นการออกกฎระเบียบ และการบังคับให้เป็นไปตามกฎระเบียบ (Law and Order) ซึ่งเป็นสมัยก่อนปี ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยได้มีการออกกฎระเบียบต่างๆมากมาย เพื่อกำหนดให้ประชาชนต้องจดทะเบียนต่างๆ ต้องขออนุญาตกับทางราชการก่อนที่จะสามารถดำเนินกิจการบางอย่างได้ และจะมีการบังคับการให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆอย่างเคร่งครัด โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดเก็บภาษีอากร ค่าใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมต่างๆ เพื่อเป็นรายได้ ของแผ่นดิน การบริหารราชการในสมัยนี้จะอยู่ในวงจำกัด กล่าวคือ นอกจากจะมีหน้าที่ในการป้องกัน ประเทศ การรักษาวามสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศแล้ว ก็จะเป็น การจดทะเบียนต่างๆ การจัดเก็บภาษีอากร การอนุญาตอนุมัติในเรื่องต่างๆ พร้อมกับการจัดเก็บค่า ใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆตลอดจนการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ เพื่อรักษาความเป็นธรรม และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(2) สมัยที่เน้นการบริหารการพัฒนา(Development Administration) ซึ่งอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1960-1990 (พ.ศ.2503-2533) เป็นสมัยที่ประเทศต่างๆได้มีการใช้แผนในการ พัฒนาประเทศ ในกรณีของประเทศไทยก็ได้มีการใช้แผนในการพัฒนาประเทศเช่นกันก็คือ“แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1” (พ.ศ.2504-2509) โดยรัฐบาลเป็นผู้นำและอำนวยการ ในการพัฒนา ในระยะเริ่มแรกได้เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจก่อนต่อมาได้มีการรวมการพัฒนาสังคมเข้าไปด้วยเป็น“แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการรองรับภาระหน้าที่และบทบาทใหม่ของรัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้นจึงได้มีการจัดตั้งและขยายส่วนราชการตลอดจนเพิ่มจำนวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกันอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลเพิ่มขึ้นเป็นกว่าร้อยละ 40 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่ หนักมาก จำเป็นจะต้องหาทางแก้ไขต่อไป โดยสรุปแล้ว ในสมัยนี้ได้มีการขยายภาระหน้าที่และบทบาทของการบริหารราชการเพิ่มขึ้นมากจนทำให้การบริหารราชการมีลักษณะอืดอาด อุ้ยอ้าย และล่าช้าในสายตาของประชาชน
(3) สมัยที่เน้นการกำกับดูแลมากกว่าการจัดทำเอง (Steering Rather Than Rowing) ซึ่งได้เริ่มต้นอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เป็นต้นมา โดยจะให้ภาคเอกชน เข้ามารับงานหรือภาระหน้าที่บางอย่างของรัฐไปดำเนินการแทน และรัฐจะทำหน้าที่เป็นเพียงผู้กำกับดูแลเท่านั้น อันเป็นการเปลี่ยน “กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) ในการบริหาร ราชการ กล่าวคือ จะเน้นการแปรสภาพงานของภาครัฐให้เป็นของภาคเอกชน (Privatization) พร้อมๆกันไปกับการมอบอำนาจ (Delegation) การกระจายอำนาจ (Decentralization) การเป็น ประชาธิปไตยหรือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (Democratization or People’s Participation) และการลดขนาดส่วนราชการและกำลังคนภาครัฐ (Downsizing) ซึ่งตามแนวทาง ดังกล่าวข้างต้น การบริหารราชการจะดำเนินการเฉพาะงานหรือภาระหน้าที่ที่จำเป็นที่ไม่มีผู้ใดดำเนินการเท่านั้น สำหรับงานหรือภาระหน้าที่ที่มีผู้อื่นรับไปดำเนินการแทนนั้น รัฐจะทำหน้าที่เป็นผู้กำกับดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนเท่านั้น ดังนั้น ในอนาคตการบริหารราชการจะมีขนาดที่เหมาะสม และคล่องตัว
แนวโน้มและทิศทางการบริหารสำนักงานในอนาคต การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สำคัญดังนี้ 1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มีประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบริหารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT) เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สำคัญ 2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจำนวน มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขึ้น ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลดอัตราการเติบโตของประชากร 3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอำนวยความสะดวกทุกขั้นตอนการสร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการบริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขันให้แก่ธุรกิจในอนาคต 4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทำให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทุกหนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้มก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกว่านวัตกรรมพื้นฐาน 5. อำนาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของงานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยืดหยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยได้ในโลกการแข่งขันที่ทวีความเข้มข้นและรุนแรงเพิ่มขึ้น วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น 1. การสร้างความคิด เป็นขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น 2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคิด เพื่อสร้างคุณค่าการปฏิบัติให้มีศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น 3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนำนวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึงเรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์ ลักษณะของสำนักงานที่มีนวัตกรรม
สำนักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสำคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สำนักงานที่มีนวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้ 1. มีกลยุทธ์และนวัตกรรมในสำนักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2. มีโครงสร้างสำนักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 3. เป็นสำนักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสำนักงานให้การสนับสนุน สำนักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทำงานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาทนวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้ 1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล 2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผู้สร้างบรรยากาศสำหรับผู้รู้ใหม่ 3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนำไปปฏิบัติ 4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5. Leaders บทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ สำนักงานมีนวัตกรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจายอำนาจและให้อำนาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้างประชาธิปไตยในสำนักงานภายใต้ไว้วางใจ ทำงานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกำจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ส.ท.ณรงค์ สัตตัง
รหัส 64423471327
การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา
ต่อทิศทางพัฒนาประเทศ
5)บริบทของการเปลี่ยนแปลง
1.ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจการเงินโลก
2.เทคโนโลยี
3.สังคม
4.ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
5.รูปแบบการบริโภค
การเปลี่ยนแปลงที่1:บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคีภูมิภาค และพหุภาคีมีแนวโน้ม เพิ่มข้ึน
• รูปแบบของระบบการค้าของโลก (World tradingsystem)มีความเข้มข้นมากข้ึน
• ประเทศต่างๆ มีข้อตกลงและใช้กฎเกณฑ์ที่ แตกต่างกันไปตามกลุ่มคู่ค้าภายใต้ข้อตกลงที่ แตกต่างกันไป (Spaghetti bowl effect)
• ต้องอาศัยกลไกการปรับตัวและการดำเนิน นโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาคธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
บทบาทเศรษฐกิจของเอเชียเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดีย
ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และผลกระทบ ต่อค่าเงินสกุลต่างๆในโลก
• การแก้ปัญหาความไม่สมดุลโดยใช้นโยบายการเงินและการค้าที่เข้มงวดมากข้ึน จะเป็นแรงกดดันต่อนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนการค้าและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศอื่นๆ
• ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนโยบาย แลกเปลี่ยนท่ียืดหยุ่นมากข้ึน โดยปล่อยให้ค่าเงินเป็นไปตามกลไกตลาดและปัจจัยพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ
มากขึ้น
การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศและความ เชื่อมโยงด้านการเงินระหว่างประเทศมีแนวโน้ม
Hedge fund และพฤติกรรมการเก็งกำไรค่าเงินและราคาสินค้าในตลาดล่วงหน้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่2:บริบทด้านเทคโนโลยี
ยุคของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
อดีตปัจจุบันอนาคตเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือผลิตสินค้าเกษตร
S&Tเป็นปัจจัยพื้นฐานของการสะสมทุน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการเกษตร
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม
เศรษฐกิจสารสนเทศ (IT)
Molecular Technology ขับเคลื่อนด้วย 3 เทคโนโลยีหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุและนาโนเทคโนโลยี
การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีก่อให้เกิดนวตักรรมใหม่
•การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับชีววิทยาในการรกัษาโรค • Internet เป็นปัจจัยพื้นฐานในชีวิต
•การร่วมมือระหว่างกลุ่มธุรกิจที่มีcoreต่างกันเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
•มีการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ
เช่นการพัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์การผลิตยารักษาโรค
• เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาโครงสร้างฐานก้าวไกลข้ึนเช่นเครื่องบินท่ีเดินทางเร็วข้ึน
ภาพรวมการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย
•การลงทุนวิจัยและพัฒนาอยู่ในระดับต่างๆ
• มีการซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
•มีการใช้เทคโนโลยีระดับต่างๆ ในระดับของ laborintensive,skilledintensive คือผลิตตามแบบผู้ว่าจ้าง(มีเพียงส่วนน้อยที่ใช้เทคโนโลยีแบบเข้มข้นและมีการวิจัยและพัฒนา)
ผลกระทบต่อประเทศไทย
ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง:ความอ่อนแอของการพัฒนาด้านนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
: สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำสูงทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการรับ
ประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยี
สิ่งแวดลอ้ม
เศรษฐกิจ
•การนำเข้าเทคโนโลยี เพื่อผลิตสินค้า
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
สังคม
•การพัฒนาคุณภาพชีวิต
•การพัฒนาการเรียนรู้
•วิถีการดำรงชีวิต
•วัฒนธรรมค่านิยม
•การพัฒนาสาธารณสุข
สิ่งเเวดล้อม
•เทคนิคการประหยัดพลังงานใหม่ๆ
•การพัฒนากระบวนการ
•ความยุ่งยากในการบำบัดของเสีย
การเปลี่ยนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย
ประชากร
ประชากรวัยทำงาน(15-59ปี)จะมีสัดส่วนสูงสุด67.1%ใน ปี2552แล้วจะลดลงประชากรวัยสูงอายุและประชากรวัยเด็กจะมีสัดส่วน11.7และ21.25ในปี2553คนไทยมีอายุยืน ยาวมากข้ึน และมีบุตรน้อยลง
ผลกระทบ
•ถ้าคุณภาพประชากรไม่เพิ่มข้ึนผลิตภาพการผลิตและการสร้างสรรในทุกด้านจะลดลง
• ต้องมีการวางแผนดูแลผ้สูงอายุด้านสุขภาพและเงินออม หลังเกษียณที่ไม่เป็ นภาระต่อการคลัวของภาครัฐ
การเปล่ียนแปลงท่ี3:บริบทดา้นสงัคม
แนวโนม้การเปล่ียนแปลงของไทย
สุขภาพ
• ประชากรผูส้ ูงอายุที่มีสดั ส่วนมากข้ ึน มีแนวโนม้ เจบ็ ป่ วย และทุพพลภาพซึ่งตอ้ งใชบ้ ริการจากสถานพยาบาลสูงข้ึน
• ประชากรในวัยแรงงานมีภาระในการดผู้ลผ้สูงอายุมากข้ึน ส่งผลกระทบต่อเงินออมและการพัฒนาคุณภาพแรงงาน •แนวโน้มปัญหาสุขภาพที่สำคัญจะเป็นไปตามพฤติกรรม
ของกลุ่มประชากร เช่น ติดเชื้อ HIV ภาวะโภชนาการเกิน อุบัติเหตุในวัยรุ่น/วัยแรงงานป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
• ภาระการดูแลบำบัดรักษาโรคจะสูงขึ้นถ้าไม่เร่งป้องกัน โดยการดูแลสุขภาพและเตรียมความพร้อมแก่ผู้ที่จะเข้าสู่วัย สูงอายุรวมทั้งพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพและ กำลังคนด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน
การศึกษา
• แนวโน้มการกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงดีข้ึน แต่จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยยังต่างประมาณ ร้อยละ25ของประชากรในปี2553ยังคงมีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษา
•การผลิตและพัฒนากำลังคนสายอาชีพโดยเฉพาะในระดับกลางมีแนวโน้มลดลงในขณะที่ตลาดแรงงานมี ความต้องการกำลังแรงงานกึ่งฝีมือและมีฝือมือมากข้ึน
• พื้นฐานการศึกษาของกำลังแรงงานต่างมีผลต่อผลิตภาพ แรงงานและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ
การเปล่ียนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
ชีวิตความเป็นอยู่
• ความเป็นเมืองมีแนวโน้มสูงข้ึนและเป็ นแหล่งรองรับกำลังแรงงานที่จะเข้ามาหางานทำ
• ภาวะความเครียด และแรงบีบคั้นจากภาวะเศรษฐกิจ และสังคมที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนมากข้ึน
• เกิดปัญหาความแออัดภายในเมือง มลพิษทางน้ำและอากาศ ปัญหาจราจร และความเสื่อมโทรมของ สภาพแวดล้อม
•ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มข้ึน ทั้งปัญหาอุบัติเหตุการประทุษร้ายตรอทรัพย์สินร่างกายและเพศ
ค่านิยม จริยธรรม
•เกิดความเลื่อนไหลและหลากหลายทางวฒันธรรมจาก ภาวะไร้พรมแดนอาทิค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ
• โรคทางสังคมแบบใหม่ คือเสพติดอาหาร เครื่องดื่ม สาร และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นโทษต่อร่างกาย เช่น Junk food บุหรี่ เหล้าอินเตอร์เน็ต และมือถือ
•วัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีคุณค่าสูญหายไป •สร้างภาระต้นทุนทางสังคม
จ.ส.อ.กิตติคุณ พันธุ์ไชยา64423471357
ตอบ แนวโน้มและทิศทางการบริหารสํานักงานในอนาคต
การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สําคัญดังนี้
1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มี ประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบรหิ ารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนํามาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สําคัญ
2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจํานวน
มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ
ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขนึ้ ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลด อัตราการเตบิโตของประชากร
3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอนการ สร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการ บริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขัน ให้แก่ธุรกิจในอนาคต
4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทําให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทกุ หนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้ม ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกวา่นวัตกรรมพื้นฐาน
5. อํานาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของ งานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยดื หยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยไดใ้ นโลกการแขง่ ขนั ทท่ี วคี วามเขม้ ขน้ และรนุ แรงเพม่ิ ขน้ึ
วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น
1. การสร้างความคิด เปน็ ขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น
2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคดิ เพื่อสร้างคุณค่าการปฏบิ ัติให้มี
ศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น
3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนํานวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึง เรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์
ลักษณะของสํานักงานที่มีนวัตกรรม
สํานักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสําคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดําเนินการอย่างต่อเนื่อง สํานักงานที่มี นวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้
1.มีกลยุทธแ์ละนวัตกรรมในสํานักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2.มีโครงสร้างสํานักงานที่สนบัสนุนกระบวนการนวตักรรม
3. เป็นสํานักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสํานักงานให้การสนับสนุน
สํานักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาท นวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้
1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผสู้ ร้างบรรยากาศสําหรับผู้รู้ใหม่
3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนําไปปฏิบัติ
4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5.Leadersบทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอยา่งต่อเนื่อง
นอกจากนี้ สํานักงานมีนวตั กรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจาย อํานาจและให้อํานาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้าง ประชาธิปไตยในสํานักงานภายใต้ไว้วางใจ ทํางานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกําจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พล.อส สิทธิศักดิ ไชยมาตย์ 64423471358 ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ ตอบ การบริหารการพัฒนาเน้นการพัฒนาการบริหารมีองค์ประกอบอยู่2องค์ประกอบคือ 1.DofAคือการพัฒนาการบริหารเป็นการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิบัติรูปการโครงสร้างกระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารให้มีเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็ง เพื่อที่จะรองรับนโยบายกับ 2.AofDคือการบริหารเพื่อการพัฒนาเป็นการเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งขนึ้ ความสามารถท่ีมีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบตัติามนโยบายเพื่อรองรับภารกิจของการ บริหารการพฒันาที่วางแผนไว้ การพัฒนาการบริหาร D of A การเพิ่มพนูสมรรถนะหรือความสามารถของระบบการบริหารงานภายในคือโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารเพื่อรองรับปัญหาต่างๆที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของ สงัคม เพื่อให้บรรลเุป้าหมายปลายทางในการสร้างความเจริญก้าวหน้าทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงัคม เนือ้หาของการพัฒนาการบริหาร ครอบคลมุถึง โครงสร้าง กระบวนการ และพฤติ กรรมการบริหารที่เอื้ออำนวยตอ่การพัฒนายังครอบคลุมถึงสภาพแวดล้อมก็คือบรรยากาศการ บริหารและคณุภาพชีวิตในการทางาน แนวทางการพิจารณา แยกพิจารณาได้เป็น 2 ด้าน คือ 1.ด้านมหภาค เน้นเป็นการพัฒนาการบริหารด้านฝ่ายบริหาร กับฝ่ายการเมือง2.ด้านจลุภาคแนวทางการพฒันาการบริหารจะครอบคลมุถึงโครงสร้างกระบวนการและ พฤตกิรรมการบริหาร ขั้นตอนขอลการพัฒนาทางด้านการบริหาร สังคมเปลี่ยนแปลงตามลกัษณะทางด้าน บริหารนี้มีอย่ดู้วยกัน3ขั้นตอนใหญ่ๆคือสังคมการเกษตรกรรมไปสสูงัคมที่กาลงัเปลี่ยนแปลง ไปสู่สังคมอตุสาหกรรม
จ.ส.อ.อัศม์เดช มาทอง
64423471318
ตอบ แนวโน้มและทิศทางการบริหารสํานักงานในอนาคต
การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สําคัญดังนี้
1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มี ประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบรหิ ารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนํามาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สําคัญ
2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจํานวน
มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ
ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขนึ้ ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลด อัตราการเตบิโตของประชากร
3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอนการ สร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการ บริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขัน ให้แก่ธุรกิจในอนาคต
4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทําให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทกุ หนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้ม ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกวา่นวัตกรรมพื้นฐาน
5. อํานาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของ งานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยดื หยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยไดใ้ นโลกการแขง่ ขนั ทท่ี วคี วามเขม้ ขน้ และรนุ แรงเพม่ิ ขน้ึ
วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น
1. การสร้างความคิด เปน็ ขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น
2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคดิ เพื่อสร้างคุณค่าการปฏบิ ัติให้มี
ศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น
3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนํานวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึง เรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์
ลักษณะของสํานักงานที่มีนวัตกรรม
สํานักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสําคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดําเนินการอย่างต่อเนื่อง สํานักงานที่มี นวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้
1.มีกลยุทธแ์ละนวัตกรรมในสํานักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2.มีโครงสร้างสํานักงานที่สนบัสนุนกระบวนการนวตักรรม
3. เป็นสํานักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสํานักงานให้การสนับสนุน
สํานักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาท นวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้
1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผสู้ ร้างบรรยากาศสําหรับผู้รู้ใหม่
3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนําไปปฏิบัติ
4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5.Leadersบทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอยา่งต่อเนื่อง
นอกจากนี้ สํานักงานมีนวตั กรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจาย อํานาจและให้อํานาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้าง ประชาธิปไตยในสํานักงานภายใต้ไว้วางใจ ทํางานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกําจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ส.ท.ยศพล จินดาวงค์
64423471281
คำถาม แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคต น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ตอบ การบริหารการพัฒนาราชการไทย มีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้องค์กรต่างๆ ขยายตัวได้อย่าง รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของ สังคมโดยจะนาสังคมและ โลกไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งด้าน ความเจริญ และความเสื่อมของสังคม ด้วย ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สมาน รังสิโยกฤษฏ์, 2546 : 1 กล่าวว่า โดยที่ระบบราชการไทยเป็นสถาบันหลัก ที่มีความสาคัญต่อความมั่นคงและความอยู่รอด ของประเทศไทย ตลอดจนเป็นกลไกหลักในการพัฒนาความ
เจริญของประเทศต่อไปในอนาคต จึงต้องมีการปรับปรุงหรือปฏิรูประบบราชการกันอย่างขนานใหญ่ เพื่อให้ ระบบราชการไทยเป็นระบบที่ มีวิสัยทัศน์ เป็นองค์การที่ทันสมัย มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ง่าย เน้นที่ผล การปฏิบัติ และมลี ักษณะเป็นการรวมพลัง
ววิ ัฒนาการการบริหารราชการในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย อาจแยกได้ 3 สมัย คือ
(1) สมัยที่เน้นการออกกฎระเบียบ และการบังคับให้เป็นไปตามกฎระเบียบ (Law and Order) ซึ่งเป็น สมัยก่อนปี ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยได้มีการออกกฎระเบียบต่างๆมากมาย เพื่อ กาหนดให้ประชาชนต้อง จดทะเบียนต่างๆ ต้องขออนุญาตกับทางราชการก่อนที่จะสามารถดาเนิน กิจการบางอย่างได้ และจะมีการ บังคับการให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆอย่างเคร่งครัด โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดเก็บภาษีอากร ค่า ใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมต่างๆ เพื่อเป็นรายได้ ของแผ่นดิน การบริหารราชการในสมัยนี้จะอยู่ในวงจากัด กล่าวคือ นอกจากจะมีหน้าที่ในการป้องกัน ประเทศ การรักษาวามสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การติดต่อ สัมพันธ์กับต่างประเทศแล้ว ก็จะเป็น การจดทะเบียนต่างๆ การจัดเก็บภาษีอากร การอนุญาตอนุมัติในเรื่อง ต่างๆ พร้อมกับการจัดเก็บค่า ใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตลอดจนการดาเนินการให้เป็นไปตาม กฎระเบียบที่กาหนดไว้ เพื่อรักษาความเป็นธรรม และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(2) สมัยที่เน้นการบริหารการพัฒนา (Development Administration) ซึ่งอยู่ ระหว่างปี ค.ศ.1960- 1990 (พ.ศ.2503-2533) เป็นสมัยที่ประเทศต่างๆ ได้มีการใช้แผนในการ พัฒนาประเทศ ในกรณีของ ประเทศไทยก็ได้มีการใช้แผนในการพัฒนาประเทศเช่นกัน ก็คือ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1” (พ.ศ.2504-2509) โดยรัฐบาลเป็นผู้นาและอานวยการ ในการพัฒนา ในระยะเริ่มแรกได้เน้นการพัฒนา เศรษฐกิจก่อน ต่อมาได้มีการรวมการพัฒนาสังคม เข้าไปด้วยเป็น “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการรองรับภาระหน้าที่และบทบาทใหม่ของรัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้น จึงได้มีการ จัดตั้ง
และขยายส่วนราชการ ตลอดจนเพิ่มจานวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกันอย่างต่อเนื่อง จนทาให้ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับบุคคลเพิ่มขึ้นเป็นกว่าร้อยละ 40 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่ หนักมาก จาเป็นจะต้องหา ทางแก้ไขต่อไป โดยสรุปแล้ว ในสมัยนี้ได้มีการขยายภาระหน้าที่และบทบาทของการบริหารราชการเพิ่มขึ้น มาก จนทาให้การบริหารราชการมีลักษณะอืดอาด อุ้ยอ้าย และล่าช้าในสายตาของประชาชน
(3) สมัยที่เน้นการกากับดูแลมากกว่าการจัดทาเอง (Steering Rather Than Rowing) ซึ่งได้เริ่มต้น อย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เป็นต้นมา โดยจะให้ภาคเอกชน เข้ามารับงานหรือภาระหน้าที่ บางอย่างของรัฐไปดาเนินการแทน และรัฐจะทาหน้าที่เป็นเพียงผู้กากับดูแลเท่านั้น อันเป็นการเปลี่ยน “กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) ในการบริหาร ราชการ กล่าวคือ จะเน้นการแปรสภาพงานของภาครัฐ ให้เป็นของภาคเอกชน (Privatization) พร้อมๆกันไปกับการมอบอานาจ (Delegation)การกระจายอานาจ (Decentralization) การเป็น ประชาธิปไตยหรือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วม (Democratization or People’s Participation) และการลดขนาดส่วนราชการและกาลังคนภาครัฐ (Downsizing) ซึ่งตามแนวทาง ดังกล่าวข้างต้น การบริหารราชการจะดาเนินการเฉพาะงานหรือภาระหน้าที่ ที่จาเป็นที่ไม่มีผู้ใดดาเนินการเท่านั้น สาหรับงานหรือภาระหน้าที่ที่มีผู้อื่นรับไปดาเนินการแทนนั้น รัฐจะทา หน้าที่เป็นผู้กากับดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนเท่านั้น ดังนั้น ในอนาคตการบริหารราชการจะมีขนาดที่เหมาะสม และคล่องตัว
ส.ท.หญิง ณัฐพัชร์ เบาราญ
รหัสนักศึกษา 64423471345
นางสาวหนึ่งธิดา ถาพรงาม
รหัสนักศึกษา 64423471326
ส.ท. อนาวิณ สวาสดื์เพชร
รหัสนักศึกษา 64423471316
14 สิงหาคม 2565
ส.ท.พุทธิพงศ์ ดีเบา
รหัสนักศึกษา 64423471351
14 สิงหาคม 2565
คำถาม แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคต น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ตอบ การบริหารการพัฒนาราชการไทย มีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้องค์กรต่างๆ ขยายตัวได้อย่าง รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของ สังคมโดยจะนาสังคมและ โลกไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งด้าน ความเจริญ และความเสื่อมของสังคม ด้วย ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สมาน รังสิโยกฤษฏ์, 2546 : 1 กล่าวว่า โดยที่ระบบราชการไทยเป็นสถาบันหลัก ที่มีความสาคัญต่อความมั่นคงและความอยู่รอด ของประเทศไทย ตลอดจนเป็นกลไกหลักในการพัฒนาความ
เจริญของประเทศต่อไปในอนาคต จึงต้องมีการปรับปรุงหรือปฏิรูประบบราชการกันอย่างขนานใหญ่ เพื่อให้ ระบบราชการไทยเป็นระบบที่ มีวิสัยทัศน์ เป็นองค์การที่ทันสมัย มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ง่าย เน้นที่ผล การปฏิบัติ และมลี ักษณะเป็นการรวมพลัง
ววิ ัฒนาการการบริหารราชการในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย อาจแยกได้ 3 สมัย คือ
(1) สมัยที่เน้นการออกกฎระเบียบ และการบังคับให้เป็นไปตามกฎระเบียบ (Law and Order) ซึ่งเป็น สมัยก่อนปี ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยได้มีการออกกฎระเบียบต่างๆมากมาย เพื่อ กาหนดให้ประชาชนต้อง จดทะเบียนต่างๆ ต้องขออนุญาตกับทางราชการก่อนที่จะสามารถดาเนิน กิจการบางอย่างได้ และจะมีการ บังคับการให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆอย่างเคร่งครัด โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดเก็บภาษีอากร ค่า ใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมต่างๆ เพื่อเป็นรายได้ ของแผ่นดิน การบริหารราชการในสมัยนี้จะอยู่ในวงจากัด กล่าวคือ นอกจากจะมีหน้าที่ในการป้องกัน ประเทศ การรักษาวามสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การติดต่อ สัมพันธ์กับต่างประเทศแล้ว ก็จะเป็น การจดทะเบียนต่างๆ การจัดเก็บภาษีอากร การอนุญาตอนุมัติในเรื่อง ต่างๆ พร้อมกับการจัดเก็บค่า ใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตลอดจนการดาเนินการให้เป็นไปตาม กฎระเบียบที่กาหนดไว้ เพื่อรักษาความเป็นธรรม และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(2) สมัยที่เน้นการบริหารการพัฒนา (Development Administration) ซึ่งอยู่ ระหว่างปี ค.ศ.1960- 1990 (พ.ศ.2503-2533) เป็นสมัยที่ประเทศต่างๆ ได้มีการใช้แผนในการ พัฒนาประเทศ ในกรณีของ ประเทศไทยก็ได้มีการใช้แผนในการพัฒนาประเทศเช่นกัน ก็คือ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1” (พ.ศ.2504-2509) โดยรัฐบาลเป็นผู้นาและอานวยการ ในการพัฒนา ในระยะเริ่มแรกได้เน้นการพัฒนา เศรษฐกิจก่อน ต่อมาได้มีการรวมการพัฒนาสังคม เข้าไปด้วยเป็น “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการรองรับภาระหน้าที่และบทบาทใหม่ของรัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้น จึงได้มีการ จัดตั้ง
และขยายส่วนราชการ ตลอดจนเพิ่มจานวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกันอย่างต่อเนื่อง จนทาให้ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับบุคคลเพิ่มขึ้นเป็นกว่าร้อยละ 40 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่ หนักมาก จาเป็นจะต้องหา ทางแก้ไขต่อไป โดยสรุปแล้ว ในสมัยนี้ได้มีการขยายภาระหน้าที่และบทบาทของการบริหารราชการเพิ่มขึ้น มาก จนทาให้การบริหารราชการมีลักษณะอืดอาด อุ้ยอ้าย และล่าช้าในสายตาของประชาชน
(3) สมัยที่เน้นการกากับดูแลมากกว่าการจัดทาเอง (Steering Rather Than Rowing) ซึ่งได้เริ่มต้น อย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เป็นต้นมา โดยจะให้ภาคเอกชน เข้ามารับงานหรือภาระหน้าที่ บางอย่างของรัฐไปดาเนินการแทน และรัฐจะทาหน้าที่เป็นเพียงผู้กากับดูแลเท่านั้น อันเป็นการเปลี่ยน “กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) ในการบริหาร ราชการ กล่าวคือ จะเน้นการแปรสภาพงานของภาครัฐ ให้เป็นของภาคเอกชน (Privatization) พร้อมๆกันไปกับการมอบอานาจ (Delegation)การกระจายอานาจ (Decentralization) การเป็น ประชาธิปไตยหรือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วม (Democratization or People’s Participation) และการลดขนาดส่วนราชการและกาลังคนภาครัฐ (Downsizing) ซึ่งตามแนวทาง ดังกล่าวข้างต้น การบริหารราชการจะดาเนินการเฉพาะงานหรือภาระหน้าที่ ที่จาเป็นที่ไม่มีผู้ใดดาเนินการเท่านั้น สาหรับงานหรือภาระหน้าที่ที่มีผู้อื่นรับไปดาเนินการแทนนั้น รัฐจะทา หน้าที่เป็นผู้กากับดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนเท่านั้น ดังนั้น ในอนาคตการบริหารราชการจะมีขนาดที่เหมาะสม และคล่องตัว
ส.ท.หญิง พรลภัส พงษ์พา 64423471301
ข้อสอบปลายภาคกลุ่ม 391/2565 14 สิงหาคม 2565. 9.00 น.- 10.00น.
ตอบ แนวโน้มและทิศทางการบริหารสํานักงานในอนาคต
การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สําคัญดังนี้
1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มี ประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบรหิ ารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนํามาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สําคัญ
2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจํานวน
มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ
ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขนึ้ ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลด อัตราการเตบิโตของประชากร
3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอํานวยความสะดวกทุกขั้นตอนการ สร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการ บริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขัน ให้แก่ธุรกิจในอนาคต
4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทําให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทกุ หนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้ม ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกวา่นวัตกรรมพื้นฐาน
5. อํานาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของ งานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยดื หยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยไดใ้ นโลกการแขง่ ขนั ทท่ี วคี วามเขม้ ขน้ และรนุ แรงเพม่ิ ขน้ึ
วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น
1. การสร้างความคิด เปน็ ขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น
2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคดิ เพื่อสร้างคุณค่าการปฏบิ ัติให้มี
ศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น
3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนํานวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึง เรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์
ลักษณะของสํานักงานที่มีนวัตกรรม
สํานักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสําคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดําเนินการอย่างต่อเนื่อง สํานักงานที่มี นวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้
1.มีกลยุทธแ์ละนวัตกรรมในสํานักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2.มีโครงสร้างสํานักงานที่สนบัสนุนกระบวนการนวตักรรม
3. เป็นสํานักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสํานักงานให้การสนับสนุน
สํานักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทํางานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาท นวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้
1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผสู้ ร้างบรรยากาศสําหรับผู้รู้ใหม่
3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนําไปปฏิบัติ
4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5.Leadersบทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอยา่งต่อเนื่อง
นอกจากนี้ สํานักงานมีนวตั กรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจาย อํานาจและให้อํานาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้าง ประชาธิปไตยในสํานักงานภายใต้ไว้วางใจ ทํางานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกําจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ส.ต.วุฑฒินันท์ พลนาแสน
รหัส 64423471285
คำถาม แนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ด้วยวิสัยทัศนของประเทศไทยท่ีวา “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง”เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศนดังกลาว รัฐบาลจึงมี นโยบายที่จะใช้ โมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศไทยไปสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หรือที่เรารู้กันวา ไทยแลนด ๔.๐ หรือ ประเทศไทย ๔.๐ ดังน้ัน ระบบราชการก็จะตองมีการปรับเปลี่ยน เพื่อให้สอดรับ และสงเสริมไทยแลนด ๔.๐ จึงจําเป็นตองมีการปฏิริรูปูประบบราชการ และข้าราชการซึ่งเป็นฟันเฟืองสําคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล สามารถปฏิบัติงานได้สอดคลองกับทิศทางการบริหารของประเทศ
ระบบราชการ ๔.๐ ประเทศไทยมุงสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ มีการกําหนด ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอํานวยความสะดวกในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง ท่ีรวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงตองมุงเน้นความคลองตัวเพื่อขับเคลื่อน ภารกิจพิเศษ(Agenda – Based)และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบ ราชการสู่ Government 4.0
จ.ท.เสรีภาพ รักษ์เสรี 64423471355
ส.อ. อนุชิต พรดอนก่อ 64423471315
คำถามแนวโน้มของรูปแบบการบริหารการพัฒนาของไทยในอนาคตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด
ตอบ การบริหารการพัฒนาราชการไทย มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้องค์กรต่างๆ ขยายตัวได้อย่างรวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของ สังคมโดยจะนำสังคมและโลกไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งด้าน ความเจริญ และความเสื่อมของสังคมด้วย ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สมาน รังสิโยกฤษฏ์, 2546 : 1 กล่าวว่าโดยที่ระบบราชการไทยเป็นสถาบันหลักที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงและความอยู่รอด ของประเทศไทย ตลอดจนเป็นกลไกหลักในการพัฒนาความเจริญของประเทศต่อไปในอนาคต จึงต้องมีการปรับปรุงหรือปฏิรูประบบราชการกันอย่างขนานใหญ่ เพื่อให้ระบบราชการไทยเป็นระบบที่มีวิสัยทัศน์เป็นองค์การที่ทันสมัยมีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ง่ายเน้นที่ผลการปฏิบัติและมีลักษณะเป็นการรวมพลัง
วิวัฒนาการการบริหารราชการในประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย อาจแยกได้ 3 สมัย คือ
(1) สมัยที่เน้นการออกกฎระเบียบ และการบังคับให้เป็นไปตามกฎระเบียบ (Law and Order) ซึ่งเป็นสมัยก่อนปี ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยได้มีการออกกฎระเบียบต่างๆมากมาย เพื่อกำหนดให้ประชาชนต้องจดทะเบียนต่างๆ ต้องขออนุญาตกับทางราชการก่อนที่จะสามารถดำเนินกิจการบางอย่างได้ และจะมีการบังคับการให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆอย่างเคร่งครัด โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดเก็บภาษีอากร ค่าใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมต่างๆ เพื่อเป็นรายได้ ของแผ่นดิน การบริหารราชการในสมัยนี้จะอยู่ในวงจำกัด กล่าวคือ นอกจากจะมีหน้าที่ในการป้องกัน ประเทศ การรักษาวามสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศแล้ว ก็จะเป็น การจดทะเบียนต่างๆ การจัดเก็บภาษีอากร การอนุญาตอนุมัติในเรื่องต่างๆ พร้อมกับการจัดเก็บค่า ใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆตลอดจนการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ เพื่อรักษาความเป็นธรรม และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(2) สมัยที่เน้นการบริหารการพัฒนา(Development Administration) ซึ่งอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1960-1990 (พ.ศ.2503-2533) เป็นสมัยที่ประเทศต่างๆได้มีการใช้แผนในการ พัฒนาประเทศ ในกรณีของประเทศไทยก็ได้มีการใช้แผนในการพัฒนาประเทศเช่นกันก็คือ“แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1” (พ.ศ.2504-2509) โดยรัฐบาลเป็นผู้นำและอำนวยการ ในการพัฒนา ในระยะเริ่มแรกได้เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจก่อนต่อมาได้มีการรวมการพัฒนาสังคมเข้าไปด้วยเป็น“แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการรองรับภาระหน้าที่และบทบาทใหม่ของรัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้นจึงได้มีการจัดตั้งและขยายส่วนราชการตลอดจนเพิ่มจำนวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกันอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลเพิ่มขึ้นเป็นกว่าร้อยละ 40 ของงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งเป็นภาระที่ หนักมาก จำเป็นจะต้องหาทางแก้ไขต่อไป โดยสรุปแล้ว ในสมัยนี้ได้มีการขยายภาระหน้าที่และบทบาทของการบริหารราชการเพิ่มขึ้นมากจนทำให้การบริหารราชการมีลักษณะอืดอาด อุ้ยอ้าย และล่าช้าในสายตาของประชาชน
(3) สมัยที่เน้นการกำกับดูแลมากกว่าการจัดทำเอง (Steering Rather Than Rowing) ซึ่งได้เริ่มต้นอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เป็นต้นมา โดยจะให้ภาคเอกชน เข้ามารับงานหรือภาระหน้าที่บางอย่างของรัฐไปดำเนินการแทน และรัฐจะทำหน้าที่เป็นเพียงผู้กำกับดูแลเท่านั้น อันเป็นการเปลี่ยน “กระบวนทัศน์ใหม่” (New Paradigm) ในการบริหาร ราชการ กล่าวคือ จะเน้นการแปรสภาพงานของภาครัฐให้เป็นของภาคเอกชน (Privatization) พร้อมๆกันไปกับการมอบอำนาจ (Delegation) การกระจายอำนาจ (Decentralization) การเป็น ประชาธิปไตยหรือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (Democratization or People’s Participation) และการลดขนาดส่วนราชการและกำลังคนภาครัฐ (Downsizing) ซึ่งตามแนวทาง ดังกล่าวข้างต้น การบริหารราชการจะดำเนินการเฉพาะงานหรือภาระหน้าที่ที่จำเป็นที่ไม่มีผู้ใดดำเนินการเท่านั้น สำหรับงานหรือภาระหน้าที่ที่มีผู้อื่นรับไปดำเนินการแทนนั้น รัฐจะทำหน้าที่เป็นผู้กำกับดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนเท่านั้น ดังนั้น ในอนาคตการบริหารราชการจะมีขนาดที่เหมาะสม และคล่องตัว
แนวโน้มและทิศทางการบริหารสำนักงานในอนาคต การเปลี่ยนแปรงมากมายในโลกยุคไร้พรมแดน เกิดเหตุการณ์สำคัญดังนี้ 1. การบริการที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญา การจัดการอย่างเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดีเลิศ และบริการที่มีประสิทธิภาพในโลกของการแข่งขัน ถือเป็นการท้าทางการบริหารสูงที่สุด มักพบนวัตกรรมสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ โดยมีเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร(lnformation Technology หรือ IT) เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสารที่สำคัญ 2. การผลิตมากเกินไป (Overcapacity) ในบางประเทศมีการผลิตวัตถุดิบ สินค้า หรือ อาหารจำนวน มากขึ้น มีผลให้ดัชนีราคาต่อค่าจ้างลดน้อยลง ในขณะที่บางประเทศอาจไม่มีอาหารเพียงพอ ในระยะเวลายาว การปรับปรุงการศึกษาและการบริการที่เพิ่มขึ้น ช่วยให้เกิดความมั่นคงได้ทั่วโลก และช่วยลดอัตราการเติบโตของประชากร 3. Software เป็นศูนย์รวมของนวัตกรรมทันสมัยและกิจกรรมทางบริหาร ช่วยอำนวยความสะดวกทุกขั้นตอนการสร้างคุณค่า และกระบวนการเชิงนวัตกรรม องค์ประกอบที่มีค่าสูงที่สุดในสินค้าคือ Software การปรับปรุงการบริหาร Software และการใช้ให้เกิดปรโยชน์สูงสุด จะช่วยสนับสนุนนวัตกรรมใหม่ สร้างความสามารถการแข็งขันให้แก่ธุรกิจในอนาคต 4. โลกาภิวัตน์ การจัดหาจากแห่ลงภายนอกและกระจายความรู้ โลกไร้พรมแดนทำให้เกิดการค้าเสรีทั่วโลก ขณะเดียวกันจะเกิดการความรู้ไปทั่วทุกหนทุกแห่ง โดยเฉพราะการกระจายความรู้ด้านเทคโนโลยี มีแนวโน้มก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางเศรษฐกิจมากกว่านวัตกรรมพื้นฐาน 5. อำนาจใหม่และสภาวะการแข่งขันรุนแรง ทุกองค์ประกอบในองค์การสามารถสร้างคุณค่า และผลิตภาพของงานอิสระเพื่อการแข่งขันได้ทุกกิจกรรม แต่เป็นการแข่งขันไร้รูปแบบ ระบบวัตกรรมที่ยืดหยุ่น อาจเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยได้ในโลกการแข่งขันที่ทวีความเข้มข้นและรุนแรงเพิ่มขึ้น วัตกรรมประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้น 1. การสร้างความคิด เป็นขั้นตอนเกิดขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์คล้องจองกัน ความเฉลียวฉลาดช่างประดิษฐ์คิดค้น 2. การทดลองเบื้องต้น ความคิดใหม่ต้องถูกตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวคิด เพื่อสร้างคุณค่าการปฏิบัติให้มีศักยภาพ มีการแบ่งปันความคิดร่วมกับผู้อื่น 3. ศึกษาความเหมาะสม ระบุความเหมาะสมความเป็นไปได้ที่จะนำนวัตกรรมนั้นไปใช้จริง โดยพิจารณารวมถึงเรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์ ลักษณะของสำนักงานที่มีนวัตกรรม
สำนักงานแบบใหม่ในอนาคต ให้ความสำคัญจากการสร้างนวัตกรรมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สำนักงานที่มีนวัตกรรม จะมีลักษณะดังนี้ 1. มีกลยุทธ์และนวัตกรรมในสำนักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 2. มีโครงสร้างสำนักงานที่สนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 3. เป็นสำนักงานที่มีส่วนในการสนับสนุนกระบวนการนวัตกรรม 4. ผู้บริหารระดับสูงในสำนักงานให้การสนับสนุน สำนักงานต้องสร้างบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการทำงานให้เหมาะสมกับการเกิดนวัตกรรม โดยมีบทบาทนวัตกรรม(lnnovation Roles) ประกอบด้วยบทบาทดังต่อไปนี้ 1. ldea Generators บทบาทการเป็นผู้สร้างวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล 2. lnformation Gatekeepers บทบาทในฐานะผู้สร้างบรรยากาศสำหรับผู้รู้ใหม่ 3. Produt Champions บทบาทในฐานะรับความคิดใหม่และนำไปปฏิบัติ 4. Project Manager บทบาทในการจัดการและบริหารนวัตกรรม 5. Leaders บทบาทในฐานะผู้กระตุ้นและสนับสนุนนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ สำนักงานมีนวัตกรรม ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง หมายความว่า ต้องมีการกระจายอำนาจและให้อำนาจที่แท้จริง ต้องออกแบบงานใหม่เพื่อสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของ มีความพยายามสร้างประชาธิปไตยในสำนักงานภายใต้ไว้วางใจ ทำงานโดยยอมรับการเสี่ยว หาทางกำจัดความกลัวจากการล้มเหลว สุดท้ายต้องเต็มใจให้รางวัลกับนวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ส.ท.ณรงค์ สัตตัง
รหัส 64423471327
การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา
ต่อทิศทางพัฒนาประเทศ
5)บริบทของการเปลี่ยนแปลง
1.ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจการเงินโลก
2.เทคโนโลยี
3.สังคม
4.ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
5.รูปแบบการบริโภค
การเปลี่ยนแปลงที่1:บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคีภูมิภาค และพหุภาคีมีแนวโน้ม เพิ่มข้ึน
• รูปแบบของระบบการค้าของโลก (World tradingsystem)มีความเข้มข้นมากข้ึน
• ประเทศต่างๆ มีข้อตกลงและใช้กฎเกณฑ์ที่ แตกต่างกันไปตามกลุ่มคู่ค้าภายใต้ข้อตกลงที่ แตกต่างกันไป (Spaghetti bowl effect)
• ต้องอาศัยกลไกการปรับตัวและการดำเนิน นโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาคธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
บทบาทเศรษฐกิจของเอเชียเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดีย
การเปลี่ยนแปลงที่1:บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก
ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และผลกระทบ ต่อค่าเงินสกุลต่างๆในโลก
• การแก้ปัญหาความไม่สมดุลโดยใช้นโยบายการเงินและการค้าที่เข้มงวดมากข้ึน จะเป็นแรงกดดันต่อนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนการค้าและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศอื่นๆ
• ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนโยบาย แลกเปลี่ยนท่ียืดหยุ่นมากข้ึน โดยปล่อยให้ค่าเงินเป็นไปตามกลไกตลาดและปัจจัยพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ
มากขึ้น
การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศและความ เชื่อมโยงด้านการเงินระหว่างประเทศมีแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงที่1:บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก
Hedge fund และพฤติกรรมการเก็งกำไรค่าเงินและราคาสินค้าในตลาดล่วงหน้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่2:บริบทด้านเทคโนโลยี
ยุคของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
อดีตปัจจุบันอนาคตเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือผลิตสินค้าเกษตร
S&Tเป็นปัจจัยพื้นฐานของการสะสมทุน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการเกษตร
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม
เศรษฐกิจสารสนเทศ (IT)
Molecular Technology ขับเคลื่อนด้วย 3 เทคโนโลยีหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุและนาโนเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงที่2:บริบทด้านเทคโนโลยี
การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีก่อให้เกิดนวตักรรมใหม่
•การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับชีววิทยาในการรกัษาโรค • Internet เป็นปัจจัยพื้นฐานในชีวิต
•การร่วมมือระหว่างกลุ่มธุรกิจที่มีcoreต่างกันเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
•มีการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ
เช่นการพัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์การผลิตยารักษาโรค
• เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาโครงสร้างฐานก้าวไกลข้ึนเช่นเครื่องบินท่ีเดินทางเร็วข้ึน
การเปลี่ยนแปลงที่2:บริบทด้านเทคโนโลยี
ภาพรวมการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย
•การลงทุนวิจัยและพัฒนาอยู่ในระดับต่างๆ
• มีการซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
•มีการใช้เทคโนโลยีระดับต่างๆ ในระดับของ laborintensive,skilledintensive คือผลิตตามแบบผู้ว่าจ้าง(มีเพียงส่วนน้อยที่ใช้เทคโนโลยีแบบเข้มข้นและมีการวิจัยและพัฒนา)
การเปลี่ยนแปลงที่2:บริบทด้านเทคโนโลยี
ผลกระทบต่อประเทศไทย
ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง:ความอ่อนแอของการพัฒนาด้านนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
: สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำสูงทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการรับ
ประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยี
สิ่งแวดลอ้ม
เศรษฐกิจ
•การนำเข้าเทคโนโลยี เพื่อผลิตสินค้า
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
สังคม
•การพัฒนาคุณภาพชีวิต
•การพัฒนาการเรียนรู้
•วิถีการดำรงชีวิต
•วัฒนธรรมค่านิยม
•การพัฒนาสาธารณสุข
สิ่งเเวดล้อม
•เทคนิคการประหยัดพลังงานใหม่ๆ
•การพัฒนากระบวนการ
•ความยุ่งยากในการบำบัดของเสีย
การเปลี่ยนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย
ประชากร
ประชากรวัยทำงาน(15-59ปี)จะมีสัดส่วนสูงสุด67.1%ใน ปี2552แล้วจะลดลงประชากรวัยสูงอายุและประชากรวัยเด็กจะมีสัดส่วน11.7และ21.25ในปี2553คนไทยมีอายุยืน ยาวมากข้ึน และมีบุตรน้อยลง
ผลกระทบ
•ถ้าคุณภาพประชากรไม่เพิ่มข้ึนผลิตภาพการผลิตและการสร้างสรรในทุกด้านจะลดลง
• ต้องมีการวางแผนดูแลผ้สูงอายุด้านสุขภาพและเงินออม หลังเกษียณที่ไม่เป็ นภาระต่อการคลัวของภาครัฐ
การเปล่ียนแปลงท่ี3:บริบทดา้นสงัคม
แนวโนม้การเปล่ียนแปลงของไทย
สุขภาพ
• ประชากรผูส้ ูงอายุที่มีสดั ส่วนมากข้ ึน มีแนวโนม้ เจบ็ ป่ วย และทุพพลภาพซึ่งตอ้ งใชบ้ ริการจากสถานพยาบาลสูงข้ึน
• ประชากรในวัยแรงงานมีภาระในการดผู้ลผ้สูงอายุมากข้ึน ส่งผลกระทบต่อเงินออมและการพัฒนาคุณภาพแรงงาน •แนวโน้มปัญหาสุขภาพที่สำคัญจะเป็นไปตามพฤติกรรม
ของกลุ่มประชากร เช่น ติดเชื้อ HIV ภาวะโภชนาการเกิน อุบัติเหตุในวัยรุ่น/วัยแรงงานป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
ผลกระทบ
• ภาระการดูแลบำบัดรักษาโรคจะสูงขึ้นถ้าไม่เร่งป้องกัน โดยการดูแลสุขภาพและเตรียมความพร้อมแก่ผู้ที่จะเข้าสู่วัย สูงอายุรวมทั้งพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพและ กำลังคนด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน
การเปลี่ยนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย
การศึกษา
• แนวโน้มการกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงดีข้ึน แต่จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยยังต่างประมาณ ร้อยละ25ของประชากรในปี2553ยังคงมีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษา
•การผลิตและพัฒนากำลังคนสายอาชีพโดยเฉพาะในระดับกลางมีแนวโน้มลดลงในขณะที่ตลาดแรงงานมี ความต้องการกำลังแรงงานกึ่งฝีมือและมีฝือมือมากข้ึน
ผลกระทบ
• พื้นฐานการศึกษาของกำลังแรงงานต่างมีผลต่อผลิตภาพ แรงงานและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ
การเปล่ียนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย
ชีวิตความเป็นอยู่
• ความเป็นเมืองมีแนวโน้มสูงข้ึนและเป็ นแหล่งรองรับกำลังแรงงานที่จะเข้ามาหางานทำ
• ภาวะความเครียด และแรงบีบคั้นจากภาวะเศรษฐกิจ และสังคมที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนมากข้ึน
ผลกระทบ
• เกิดปัญหาความแออัดภายในเมือง มลพิษทางน้ำและอากาศ ปัญหาจราจร และความเสื่อมโทรมของ สภาพแวดล้อม
•ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มข้ึน ทั้งปัญหาอุบัติเหตุการประทุษร้ายตรอทรัพย์สินร่างกายและเพศ
การเปลี่ยนแปลงท่ี3:บริบทด้านสังคม
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย
ค่านิยม จริยธรรม
•เกิดความเลื่อนไหลและหลากหลายทางวฒันธรรมจาก ภาวะไร้พรมแดนอาทิค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ
• โรคทางสังคมแบบใหม่ คือเสพติดอาหาร เครื่องดื่ม สาร และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นโทษต่อร่างกาย เช่น Junk food บุหรี่ เหล้าอินเตอร์เน็ต และมือถือ
ผลกระทบ
•วัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีคุณค่าสูญหายไป •สร้างภาระต้นทุนทางสังคม