ศูนย์เรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมช
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module2
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์Module3
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module 1
more
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียวรหัส62423471176
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น 2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้ 3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก จึงทำให้ไม่มีผล การใช้จ่ายหรือผลการใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ เมื่อผลใช้จ่ายต่ำ สำนักงบประมาณจึงมีเหตุผล ที่จะไม่โอนเงินจัดสรรในงวดหลังๆ ให้ หรือให้ไม่เต็มจำนวน โดยให้เหตุผลว่าหน่วยงาน มีผลการเบิกจ่ายต่ำและยังมีงบประมาณคงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก 4. งบบุคลากรและงบดำเนินงานภายใต้แผนงานบุลากรภาครัฐได้รับจัดสรรน้อยกว่าจำนวนที่ต้องใช้ จ่ายจริง ต้องใช้วิธีการบริหารงบประมาณ โดยให้หน่วยงานพิจารณาว่ารายการใดมีเพียงพอ และคงเหลือให้เจียดจ่ายไปใช้ในรายการที่ไม่พอ เช่น เงินสมทบประกันสังคมมีเหลือเนื่องจากรัฐบาล ลดอัตราเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งสามารถนำมาเบิกจ่ายเป็นค่าเช่าบ้านที่มีไม่เพียงพอได้ 5. การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนล่าช้า เนื่องจากหน่วยงานที่ได้รับจัดสรร งบลงทุน ไม่เตรียมความพร้อมในการจัดหา เมื่อติดปัญหาต้องมีการปรับแบบ หรือ ครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหาไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ หรือ ราคาสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับ จึงทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าออกไปด้วย รวมทั้งต้องเผื่อเวลากรณีที่มีการ อุทธรณ์ด้วย
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียว
62423471176
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา ดังต่อไปนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาสและรายงานผลความก้าวหน้าของการใช้จ่ายเงิน การดำเนินโครงการ ทุกโครงการทุกเดือนมีการประเมินความคืบหน้ารวมทั้งการเปรียบเทียบผลการใช้จ่ายงบประมาณจริงกับแผนการใช้จ่ายทำจัดทำขึ้น การดำเนินการงบประมาณต้องหลักความถูกต้องตามระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้เป็นไปตามวินัยการเงินการคลัง ทำให้ส่วนราชการมองเห็นว่า ขาดความยืดหยุ่นในการทำงาน จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางนึ่งด้วย
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียว 6242347
ปัญหาที่พบในแผนงานแบบใหม่
คือ เวลามีนโยบายออกมาให้ปฎิบัติงาน ในส่วนของการเบิกงบประมาณเพื่อมาใช้ในการปฎิบัติงานเกิดความล่าช้าส่งผลให้การดำเนินงานมีระยะเวลาที่ยาวนานขึ้นจนบางครั้งทำให้การปฎบัติงานเสร็จไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงในระหว่างการปฏิบัติอาจมีค่าใช้จ่ายในส่วนใหม่เพิ่มขึ้นมาการจะเบิกค่าใช้จ่ายนั้นต้องรอผู้บริหารอนุมัติก่อนจึงจะมำการเบิกงบประมาณเพื่อมาดำเนินการได้ จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักๆของการดำเนินงานแผนการงบประมาณแบบใหม่นี้คือ ขั้นตอนในการทำงานที่ซับซ้อนและยุ่งยากส่งผลให้มีระยะเวลาในการดำเนินงานที่นานขึ้นเพราะต้องรอการอนุมัติจากผู้บริหาร
วิธีการแก้ไขปัญหาที่ข้าพเจ้าอยากเสนอแนะ คือ องค์กรควรมีการจัดสรรงบประมาณส่วนหนึ่งในการใช้จ่ายไว้ก่อนแล้วค่อยเสนอเรื่องเบิกทีหลังเพื่อลดระยะเวลาในการรอการอนุมัติงบประมาณมาใช้ในการปฎิบัติงาน
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ การขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ ทำให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของผู้ปฏิบัติกับผู้ตรวจสอบ ซึ่งถ้ามีการกำหนดมาตรฐานของการเบิกจ่าย เอกสารที่ใช้ประกอบ ข้อควรระวังต่าง ๆ ที่เคยเกิดการผิดพลาด รวมถึงการจัดให้มีผู้ให้คำปรึกษาและจัดให้มีการให้ความรู้ทำความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอจะช่วยลดความผิดพลาดและระยะเวลาเบิกจ่ายได้ และการขาดอัตรากำลัง กรณีมีบุคคลากรย้าย สับเปลี่ยนมีปัญหาในการต้องใช้เวลา เพื่อสร้างประสบการณ์ในการทำงาน ทำให้งานล่าช้า หยุดชะงัก ไม่ต่อเนื่อง สอดคล้องกับ
แนวคิด ปภาดา ช่างเพ็ชรผล ได้วิจัยเรื่อง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำงบประมาณของกรมราชองค์รักษ์ ผลการวิจัย
พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำงบประมาณของกรมราชองครักษ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและ
อุปสรรคในการจัดทำงบประมาณมากที่สุด ได้แก่ ด้านการ บริหารงบประมาณ รองลงมาด้านการติดตามงบประมาณ และ
ด้านการจัดทำงบประมาณ ตามลำดับ
ส.ท.หญิง ชุลิตา หนูแดง รหัส 62423471199
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา
1.ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้นซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายในเวลาที่กำหนด
2.ปัญหาด้านบุคลากรภายในหน่วยงานขาดความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
3.ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและเงื่อนไขด้านระยะเวลามีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมากเกินไป
แนวทางแก้ไข คือ
1. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก และวิธีเฉพาะเจาะจงการบริหารพัสดุและข้อปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินทุกหมวดรายจ่ายและควรจัดทำกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยกำหนดระยะเวลาของกระบวนการในแต่ละวิธีให้เป็นมาตรฐาน
2. พัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ ความเชี่ยวชาญในสายงาน
3. ควรมีการประชุมเจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นการเฉพาะกิจ เพื่อปรึกษาหาปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำงานเป็นประจำ ในทุก ๆ เดือน ซึ่งจะเป็นการสื่อสารในองค์กร
จ.ส.อ.สมใจ กำแก้ว รหัสฯ 62423471211
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1) ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูง มีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายในกำหนดเวลา
แนวทางแก้ไข จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานในแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่มารับตำแหน่งใหม่สามารถปฏิบัติงานได้โดยไม่ติดขัด
2) ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจน แน่นอน ทำให้บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
แนวทางแก้ไข จะต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมให้บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญใน การดำเนินงานที่เพียงพอ การสอนงานโดยผู้บังคับบัชญา หรือผู้ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนั้นมาก่อน
3) ด้านความรู้เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ พบว่าระเบียบแนวทางปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารงบประมาณมีความซับซ้อนยากต่อการทําความเข้าใจ มีปัญหามากที่สุดอยู่ใน ระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข ควรมีการจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทางการงบประมาณเพื่อที่จะได้ทําความเข้าใจ ในขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบ
4) ด้านการบริหารจัดการงบประมาณ พบว่าการโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจ ส่งผลให้การดำเนินงานล่าช้ามีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับมาก
แนวทางแก้ไข จึงไม่ควรมีการโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ และการจัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานในแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่มารับตำแหน่งใหม่สามารถปฏิบัติงานได้โดยไม่ติดขัด รวมถึงการสอนงานโดยผู้บังคับบัชญา หรือผู้ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนั้นมาก่อน
5) ระบบสารสนเทศ พบว่าการแก้ไขอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้กับระบบงบประมาณ ขัดข้องล่าช้า มีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข การมีการวางแผนในการปรับปรุง ซ่อมแซม แก้ไขอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามระยะเวลาที่กำหนดและหมั่นมีการบำรุงดูแลรักษาโดยเจ้าหน้าที่ผู้ชำนาญการ
6) ด้านความร่วมมือและประสานงาน พบว่ามีความล่าช้าในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่าง หน่วยงานมีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข ควรมีการจัดเรียงลำดับความเร่งด่วนของเอกสาร พร้อมทั้งติดตามในทุกขั้นตอนการรับ-ส่ง
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
ส.อ.เผดิมพงศ์ จงแพทย์ 62423471215
สท.รภณทรรศ ทองมาก 62423471210 ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา ดังต่อไปนี้
ส.อ.จักรพันธ์ แก้วสมบูรณ์ รหัส 62423471204
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหาดังต่อไปนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
ส.อ.สุรเชษฐ์ วงศ์สมศักดิ์ รหัส62423471174
ส.ท. วิทยา สารากูล รหัส 62423471177
ตอบ
การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
แนวทางแก้ไข
การที่จะให้หน่วยงานมีอิสระในการบริหารในขั้นต้นหน่วยงานจะต้องมีการวางแผนที่ดี และสามารถทำให้รัฐบาลมองเห็นภาพรวมของผลิตผล/กิจกรรมที่จะต้องจัดเตรียมงบประมาณให้ ตามต้นทุนที่ประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระบวนการการวางแผนงบประมาณที่จะต้องดำเนินการคือ
1. การจัดทำแผนกลยุทธ์
2. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า
3. มีเกณฑ์จัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานปฏิบัติอย่างโปร่งใส
ส.ท.ฤทธิพร สง่างาม 62423471171 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรร งบประมาณ เป็นโครงการที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนในการดำเนินการ แนวทางการแก้ไขปัญหา พัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ ความเชี่ยวชาญในสายงาน ควรมีการประชุมเจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นการเฉพาะกิจ เพื่อปรึกษาหาปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำงานเป็นประจำ ในทุก ๆ เดือน ซึ่งจะเป็นการสื่อสารในองค์กร
ส.อ.จารุเดช บุญวรรณ 62423471183
1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น
2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้
3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก จึงทำให้ไม่มีผล การใช้จ่ายหรือผลการใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ เมื่อผลใช้จ่ายต่ำ สำนักงบประมาณจึงมีเหตุผล ที่จะไม่โอนเงินจัดสรรในงวดหลังๆ ให้ หรือให้ไม่เต็มจำนวน โดยให้เหตุผลว่าหน่วยงาน มีผลการเบิกจ่ายต่ำและยังมีงบประมาณคงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก
4. งบบุคลากรและงบดำเนินงานภายใต้แผนงานบุลากรภาครัฐได้รับจัดสรรน้อยกว่าจำนวนที่ต้องใช้ จ่ายจริง ต้องใช้วิธีการบริหารงบประมาณ โดยให้หน่วยงานพิจารณาว่ารายการใดมีเพียงพอ และคงเหลือให้เจียดจ่ายไปใช้ในรายการที่ไม่พอ เช่น เงินสมทบประกันสังคมมีเหลือเนื่องจากรัฐบาล ลดอัตราเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งสามารถนำมาเบิกจ่ายเป็นค่าเช่าบ้านที่มีไม่เพียงพอได้
5. การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนล่าช้า เนื่องจากหน่วยงานที่ได้รับจัดสรร งบลงทุน ไม่เตรียมความพร้อมในการจัดหา เมื่อติดปัญหาต้องมีการปรับแบบ หรือ ครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหาไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ หรือ ราคาสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับ จึงทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าออกไปด้วย รวมทั้งต้องเผื่อเวลากรณีที่มีการ อุทธรณ์ด้วย
ส.อ.อภิสิทธิ์ ทนหนองแวง 62423471181 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) “ ปัญหาในการเบิกจ่ายงบประมาณของสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล จากการวิจัยพบว่าปัญหาในการ เบิกจ่าย งบประมาณของสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล ดังนี้ “ 1.ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูง มีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายกำหนดเวลา และผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจนแน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
2.ปัญหาด้านบุคลากรภายในหน่วยงาน การขาดความรู้ ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากกรุงเทพมหานครเปลี่ยนมาใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ
3.ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรร งบประมาณ เป็นโครงการที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนในการดำเนินการ แนวทางแก้ไข
1. การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก และวิธีเฉพาะเจาะจงการบริหารพัสดุและข้อปฏิบัติต่างๆ เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินทุกหมวดรายจ่ายและควร จัดทำกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 2. การมีการจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละโครงการ/ รายการ เพื่อเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับร่าง ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ ครุภัณฑ์ที่ต้องการและดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างไว้ล่วงหน้า เมื่อข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องงบประมาณรายจ่ายประกาศใช้จะสามารถดำเนินการได้ทันที 3.การพัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ความเชี่ยวชาญในสายงาน เนื่องจากเจ้าพนักงานธุรการเป็นส่วนสนับสนุนที่มีความสำคัญมากต่อการประสบ ความสำเร็จของการดำเนินการด้านต่าง ๆ 4. การศึกษาจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เช่น หัวหน้างานธุรการที่มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญแล้ว เป็นต้น ให้กับบุคลากรที่ยังขาดความรู้ความสามารถ หรือรวมทั้งการสร้างระบบ Learning การจัดให้มีกระบวนการถ่ายทอด องค์ความรู้จากบุคลากรที่มีผู้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน มีทักษะ ความชำนาญและประสบการณ์มาใช้ให้เกิด ประโยชน์
ปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ การขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญด้านงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ การดำเนินงานที่ไม่เป็นระบบ ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามขั้นตอนที่จัดตั้งไว้ ระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลใรส่วนของสารสนเทศไม่เป็นปัจจุบัน และงบประมาณที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานต่างๆ
ตอบ 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น 2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้ 3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก
จ.ส.ต.รณชัย แก้วพักดี 62423471196
ตอบ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหาดังต่อไปนี้ 1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ 2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม 3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
ส.อ.มนุชา ฤกษ์วิรี 62423471172
เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง
(1) เป้าหมายการให้บริการไม่สอดคล้องรับกับ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ
(2) ขาดการนำกลุ่มเป้าหมายมาพิจารณาในกาหนดเป้าหมายในการให้บริการ
(3) ขาดความเป็นไปได้ในการให้บริการตามเป้าหมาย
(4) ตัวชี้วัดไม่ครอบคลุมเป้าหมายในการให้บริการ
(5) คุณภาพของตัวชี้วัดซึ่งในบางครั้งไม่สามารถวัดค่าได้
ยุทธศาสตร์ กระทรวง
(1) ขาดความชัดเจนของทิศทางยุทธศาสตร์ของกระทรวง
(2) มีการนำเอาภารกิจของกระทรวงมาเขียนเป็นยุทธศาสตร์กระทรวง
เป้าหมายหน่วยงาน
(1) ขาดความสอดรับกับ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง
(2) ขาดการนำกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการมาพิจารณาจัดทำเป้าหมาย
(3) ความเป็นไปได้ของเป้าหมายของหน่วยงานที่กำหนด
(4) ตัวชี้วัดที่กาหนดไม่สอดรับกับ เป้าหมาย
(5) ความสามารถในการวัดค่าได้ของตัวชี้วัด
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียวรหัส62423471176
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น 2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้ 3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก จึงทำให้ไม่มีผล การใช้จ่ายหรือผลการใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ เมื่อผลใช้จ่ายต่ำ สำนักงบประมาณจึงมีเหตุผล ที่จะไม่โอนเงินจัดสรรในงวดหลังๆ ให้ หรือให้ไม่เต็มจำนวน โดยให้เหตุผลว่าหน่วยงาน มีผลการเบิกจ่ายต่ำและยังมีงบประมาณคงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก 4. งบบุคลากรและงบดำเนินงานภายใต้แผนงานบุลากรภาครัฐได้รับจัดสรรน้อยกว่าจำนวนที่ต้องใช้ จ่ายจริง ต้องใช้วิธีการบริหารงบประมาณ โดยให้หน่วยงานพิจารณาว่ารายการใดมีเพียงพอ และคงเหลือให้เจียดจ่ายไปใช้ในรายการที่ไม่พอ เช่น เงินสมทบประกันสังคมมีเหลือเนื่องจากรัฐบาล ลดอัตราเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งสามารถนำมาเบิกจ่ายเป็นค่าเช่าบ้านที่มีไม่เพียงพอได้ 5. การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนล่าช้า เนื่องจากหน่วยงานที่ได้รับจัดสรร งบลงทุน ไม่เตรียมความพร้อมในการจัดหา เมื่อติดปัญหาต้องมีการปรับแบบ หรือ ครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหาไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ หรือ ราคาสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับ จึงทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าออกไปด้วย รวมทั้งต้องเผื่อเวลากรณีที่มีการ อุทธรณ์ด้วย
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียว
62423471176
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา ดังต่อไปนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาสและรายงานผลความก้าวหน้าของการใช้จ่ายเงิน การดำเนินโครงการ ทุกโครงการทุกเดือนมีการประเมินความคืบหน้ารวมทั้งการเปรียบเทียบผลการใช้จ่ายงบประมาณจริงกับแผนการใช้จ่ายทำจัดทำขึ้น การดำเนินการงบประมาณต้องหลักความถูกต้องตามระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้เป็นไปตามวินัยการเงินการคลัง ทำให้ส่วนราชการมองเห็นว่า ขาดความยืดหยุ่นในการทำงาน จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางนึ่งด้วย
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียว 6242347
ปัญหาที่พบในแผนงานแบบใหม่
คือ เวลามีนโยบายออกมาให้ปฎิบัติงาน ในส่วนของการเบิกงบประมาณเพื่อมาใช้ในการปฎิบัติงานเกิดความล่าช้าส่งผลให้การดำเนินงานมีระยะเวลาที่ยาวนานขึ้นจนบางครั้งทำให้การปฎบัติงานเสร็จไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงในระหว่างการปฏิบัติอาจมีค่าใช้จ่ายในส่วนใหม่เพิ่มขึ้นมาการจะเบิกค่าใช้จ่ายนั้นต้องรอผู้บริหารอนุมัติก่อนจึงจะมำการเบิกงบประมาณเพื่อมาดำเนินการได้ จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักๆของการดำเนินงานแผนการงบประมาณแบบใหม่นี้คือ ขั้นตอนในการทำงานที่ซับซ้อนและยุ่งยากส่งผลให้มีระยะเวลาในการดำเนินงานที่นานขึ้นเพราะต้องรอการอนุมัติจากผู้บริหาร
วิธีการแก้ไขปัญหาที่ข้าพเจ้าอยากเสนอแนะ คือ องค์กรควรมีการจัดสรรงบประมาณส่วนหนึ่งในการใช้จ่ายไว้ก่อนแล้วค่อยเสนอเรื่องเบิกทีหลังเพื่อลดระยะเวลาในการรอการอนุมัติงบประมาณมาใช้ในการปฎิบัติงาน
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ การขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ ทำให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของผู้ปฏิบัติกับผู้ตรวจสอบ ซึ่งถ้ามีการกำหนดมาตรฐานของการเบิกจ่าย เอกสารที่ใช้ประกอบ ข้อควรระวังต่าง ๆ ที่เคยเกิดการผิดพลาด รวมถึงการจัดให้มีผู้ให้คำปรึกษาและจัดให้มีการให้ความรู้ทำความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอจะช่วยลดความผิดพลาดและระยะเวลาเบิกจ่ายได้ และการขาดอัตรากำลัง กรณีมีบุคคลากรย้าย สับเปลี่ยนมีปัญหาในการต้องใช้เวลา เพื่อสร้างประสบการณ์ในการทำงาน ทำให้งานล่าช้า หยุดชะงัก ไม่ต่อเนื่อง สอดคล้องกับ
แนวคิด ปภาดา ช่างเพ็ชรผล ได้วิจัยเรื่อง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำงบประมาณของกรมราชองค์รักษ์ ผลการวิจัย
พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำงบประมาณของกรมราชองครักษ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและ
อุปสรรคในการจัดทำงบประมาณมากที่สุด ได้แก่ ด้านการ บริหารงบประมาณ รองลงมาด้านการติดตามงบประมาณ และ
ด้านการจัดทำงบประมาณ ตามลำดับ
ส.ท.หญิง ชุลิตา หนูแดง รหัส 62423471199
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา
1.ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้นซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายในเวลาที่กำหนด
2.ปัญหาด้านบุคลากรภายในหน่วยงานขาดความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
3.ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและเงื่อนไขด้านระยะเวลามีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมากเกินไป
แนวทางแก้ไข คือ
1. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก และวิธีเฉพาะเจาะจงการบริหารพัสดุและข้อปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินทุกหมวดรายจ่ายและควรจัดทำกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยกำหนดระยะเวลาของกระบวนการในแต่ละวิธีให้เป็นมาตรฐาน
2. พัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ ความเชี่ยวชาญในสายงาน
3. ควรมีการประชุมเจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นการเฉพาะกิจ เพื่อปรึกษาหาปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำงานเป็นประจำ ในทุก ๆ เดือน ซึ่งจะเป็นการสื่อสารในองค์กร
จ.ส.อ.สมใจ กำแก้ว รหัสฯ 62423471211
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1) ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูง มีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายในกำหนดเวลา
แนวทางแก้ไข จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานในแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่มารับตำแหน่งใหม่สามารถปฏิบัติงานได้โดยไม่ติดขัด
2) ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจน แน่นอน ทำให้บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
แนวทางแก้ไข จะต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมให้บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญใน การดำเนินงานที่เพียงพอ การสอนงานโดยผู้บังคับบัชญา หรือผู้ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนั้นมาก่อน
3) ด้านความรู้เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ พบว่าระเบียบแนวทางปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารงบประมาณมีความซับซ้อนยากต่อการทําความเข้าใจ มีปัญหามากที่สุดอยู่ใน ระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข ควรมีการจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทางการงบประมาณเพื่อที่จะได้ทําความเข้าใจ ในขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบ
4) ด้านการบริหารจัดการงบประมาณ พบว่าการโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจ ส่งผลให้การดำเนินงานล่าช้ามีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับมาก
แนวทางแก้ไข จึงไม่ควรมีการโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ และการจัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานในแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่มารับตำแหน่งใหม่สามารถปฏิบัติงานได้โดยไม่ติดขัด รวมถึงการสอนงานโดยผู้บังคับบัชญา หรือผู้ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนั้นมาก่อน
5) ระบบสารสนเทศ พบว่าการแก้ไขอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้กับระบบงบประมาณ ขัดข้องล่าช้า มีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข การมีการวางแผนในการปรับปรุง ซ่อมแซม แก้ไขอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามระยะเวลาที่กำหนดและหมั่นมีการบำรุงดูแลรักษาโดยเจ้าหน้าที่ผู้ชำนาญการ
6) ด้านความร่วมมือและประสานงาน พบว่ามีความล่าช้าในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่าง หน่วยงานมีปัญหามากที่สุดอยู่ในระดับปานกลาง
แนวทางแก้ไข ควรมีการจัดเรียงลำดับความเร่งด่วนของเอกสาร พร้อมทั้งติดตามในทุกขั้นตอนการรับ-ส่ง
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
ส.อ.เผดิมพงศ์ จงแพทย์ 62423471215
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
สท.รภณทรรศ ทองมาก 62423471210 ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหา 3 ปัญหา ดังต่อไปนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาสและรายงานผลความก้าวหน้าของการใช้จ่ายเงิน การดำเนินโครงการ ทุกโครงการทุกเดือนมีการประเมินความคืบหน้ารวมทั้งการเปรียบเทียบผลการใช้จ่ายงบประมาณจริงกับแผนการใช้จ่ายทำจัดทำขึ้น การดำเนินการงบประมาณต้องหลักความถูกต้องตามระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้เป็นไปตามวินัยการเงินการคลัง ทำให้ส่วนราชการมองเห็นว่า ขาดความยืดหยุ่นในการทำงาน จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ
1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ
2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ”
ความเห็นในแนวทางแก้ไข
ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางนึ่งด้วย
ส.อ.จักรพันธ์ แก้วสมบูรณ์ รหัส 62423471204
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหาดังต่อไปนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
ส.อ.สุรเชษฐ์ วงศ์สมศักดิ์ รหัส62423471174
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น 2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้ 3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก จึงทำให้ไม่มีผล การใช้จ่ายหรือผลการใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ เมื่อผลใช้จ่ายต่ำ สำนักงบประมาณจึงมีเหตุผล ที่จะไม่โอนเงินจัดสรรในงวดหลังๆ ให้ หรือให้ไม่เต็มจำนวน โดยให้เหตุผลว่าหน่วยงาน มีผลการเบิกจ่ายต่ำและยังมีงบประมาณคงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก 4. งบบุคลากรและงบดำเนินงานภายใต้แผนงานบุลากรภาครัฐได้รับจัดสรรน้อยกว่าจำนวนที่ต้องใช้ จ่ายจริง ต้องใช้วิธีการบริหารงบประมาณ โดยให้หน่วยงานพิจารณาว่ารายการใดมีเพียงพอ และคงเหลือให้เจียดจ่ายไปใช้ในรายการที่ไม่พอ เช่น เงินสมทบประกันสังคมมีเหลือเนื่องจากรัฐบาล ลดอัตราเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งสามารถนำมาเบิกจ่ายเป็นค่าเช่าบ้านที่มีไม่เพียงพอได้ 5. การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนล่าช้า เนื่องจากหน่วยงานที่ได้รับจัดสรร งบลงทุน ไม่เตรียมความพร้อมในการจัดหา เมื่อติดปัญหาต้องมีการปรับแบบ หรือ ครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหาไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ หรือ ราคาสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับ จึงทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าออกไปด้วย รวมทั้งต้องเผื่อเวลากรณีที่มีการ อุทธรณ์ด้วย
ส.ท. วิทยา สารากูล รหัส 62423471177
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ
การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ”
ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ”
ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
แนวทางแก้ไข
การที่จะให้หน่วยงานมีอิสระในการบริหารในขั้นต้นหน่วยงานจะต้องมีการวางแผนที่ดี และสามารถทำให้รัฐบาลมองเห็นภาพรวมของผลิตผล/กิจกรรมที่จะต้องจัดเตรียมงบประมาณให้ ตามต้นทุนที่ประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระบวนการการวางแผนงบประมาณที่จะต้องดำเนินการคือ
1. การจัดทำแผนกลยุทธ์
2. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า
3. มีเกณฑ์จัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานปฏิบัติอย่างโปร่งใส
ส.ท.ฤทธิพร สง่างาม 62423471171 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรร งบประมาณ เป็นโครงการที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนในการดำเนินการ แนวทางการแก้ไขปัญหา พัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ ความเชี่ยวชาญในสายงาน ควรมีการประชุมเจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นการเฉพาะกิจ เพื่อปรึกษาหาปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำงานเป็นประจำ ในทุก ๆ เดือน ซึ่งจะเป็นการสื่อสารในองค์กร
ส.อ.จารุเดช บุญวรรณ 62423471183
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น
2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้
3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก จึงทำให้ไม่มีผล การใช้จ่ายหรือผลการใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ เมื่อผลใช้จ่ายต่ำ สำนักงบประมาณจึงมีเหตุผล ที่จะไม่โอนเงินจัดสรรในงวดหลังๆ ให้ หรือให้ไม่เต็มจำนวน โดยให้เหตุผลว่าหน่วยงาน มีผลการเบิกจ่ายต่ำและยังมีงบประมาณคงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก
4. งบบุคลากรและงบดำเนินงานภายใต้แผนงานบุลากรภาครัฐได้รับจัดสรรน้อยกว่าจำนวนที่ต้องใช้ จ่ายจริง ต้องใช้วิธีการบริหารงบประมาณ โดยให้หน่วยงานพิจารณาว่ารายการใดมีเพียงพอ และคงเหลือให้เจียดจ่ายไปใช้ในรายการที่ไม่พอ เช่น เงินสมทบประกันสังคมมีเหลือเนื่องจากรัฐบาล ลดอัตราเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งสามารถนำมาเบิกจ่ายเป็นค่าเช่าบ้านที่มีไม่เพียงพอได้
5. การเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนของงบลงทุนล่าช้า เนื่องจากหน่วยงานที่ได้รับจัดสรร งบลงทุน ไม่เตรียมความพร้อมในการจัดหา เมื่อติดปัญหาต้องมีการปรับแบบ หรือ ครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหาไม่มีจำหน่ายในพื้นที่ หรือ ราคาสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับ จึงทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้าออกไปด้วย รวมทั้งต้องเผื่อเวลากรณีที่มีการ อุทธรณ์ด้วย
ส.อ.อภิสิทธิ์ ทนหนองแวง 62423471181 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) “ ปัญหาในการเบิกจ่ายงบประมาณของสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล จากการวิจัยพบว่าปัญหาในการ เบิกจ่าย งบประมาณของสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล ดังนี้ “ 1.ปัญหาด้านนโยบายการปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหารระดับสูง มีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่ทันภายกำหนดเวลา และผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจนแน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
2.ปัญหาด้านบุคลากรภายในหน่วยงาน การขาดความรู้ ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากกรุงเทพมหานครเปลี่ยนมาใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ
3.ปัญหาด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้รับการจัดสรร งบประมาณ เป็นโครงการที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนในการดำเนินการ แนวทางแก้ไข
1. การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก และวิธีเฉพาะเจาะจงการบริหารพัสดุและข้อปฏิบัติต่างๆ เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินทุกหมวดรายจ่ายและควร จัดทำกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 2. การมีการจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละโครงการ/ รายการ เพื่อเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับร่าง ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ ครุภัณฑ์ที่ต้องการและดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างไว้ล่วงหน้า เมื่อข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องงบประมาณรายจ่ายประกาศใช้จะสามารถดำเนินการได้ทันที 3.การพัฒนาสมรรถนะสายงานสนับสนุนตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการประจำส่วนราชการ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ความเชี่ยวชาญในสายงาน เนื่องจากเจ้าพนักงานธุรการเป็นส่วนสนับสนุนที่มีความสำคัญมากต่อการประสบ ความสำเร็จของการดำเนินการด้านต่าง ๆ 4. การศึกษาจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เช่น หัวหน้างานธุรการที่มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญแล้ว เป็นต้น ให้กับบุคลากรที่ยังขาดความรู้ความสามารถ หรือรวมทั้งการสร้างระบบ Learning การจัดให้มีกระบวนการถ่ายทอด องค์ความรู้จากบุคลากรที่มีผู้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน มีทักษะ ความชำนาญและประสบการณ์มาใช้ให้เกิด ประโยชน์
ปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ การขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญด้านงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ การดำเนินงานที่ไม่เป็นระบบ ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามขั้นตอนที่จัดตั้งไว้ ระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลใรส่วนของสารสนเทศไม่เป็นปัจจุบัน และงบประมาณที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอต่อการดำเนินงานต่างๆ
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
ตอบ 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรตาม พ.ร.บ. มีจำนวนลดน้อยลงทุกปีทำให้จัดสรร ให้กับหน่วยงานได้จำกัด เน้นการพิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น 2. การบริหารงบประมาณระหว่างปี ยังมีบางหน่วยงานมีงบประมาณ คงเหลือ ทำให้มีเงินเหลือจ่าย และมีบางหน่วยงานส่งคืนเงินไม่ทัน ทำให้ไม่สามารถนำเงินมาบริหารในภาพรวมได้ 3. งบประมาณได้รับการจัดสรรมาช้า และมีการแบ่งจัดสรรเป็นหลายงวด ทำให้การบริหาร งบประมาณค่อนข้างยาก หน่วยงานไม่กล้าใช้งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในงวดแรกๆ เนื่องจากเกรงว่างบประมาณในส่วนที่ยังไม่ได้รับจะไม่ได้รับจัดสรรอีก
จ.ส.ต.รณชัย แก้วพักดี 62423471196
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ตอบ คือ ปัญหาในการเบิกจ่าย โดยประกอบด้วยปัญหาดังต่อไปนี้ 1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ 2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม 3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
ส.อ.มนุชา ฤกษ์วิรี 62423471172
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง
(1) เป้าหมายการให้บริการไม่สอดคล้องรับกับ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ
(2) ขาดการนำกลุ่มเป้าหมายมาพิจารณาในกาหนดเป้าหมายในการให้บริการ
(3) ขาดความเป็นไปได้ในการให้บริการตามเป้าหมาย
(4) ตัวชี้วัดไม่ครอบคลุมเป้าหมายในการให้บริการ
(5) คุณภาพของตัวชี้วัดซึ่งในบางครั้งไม่สามารถวัดค่าได้
ยุทธศาสตร์ กระทรวง
(1) ขาดความชัดเจนของทิศทางยุทธศาสตร์ของกระทรวง
(2) มีการนำเอาภารกิจของกระทรวงมาเขียนเป็นยุทธศาสตร์กระทรวง
เป้าหมายหน่วยงาน
(1) ขาดความสอดรับกับ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง
(2) ขาดการนำกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการมาพิจารณาจัดทำเป้าหมาย
(3) ความเป็นไปได้ของเป้าหมายของหน่วยงานที่กำหนด
(4) ตัวชี้วัดที่กาหนดไม่สอดรับกับ เป้าหมาย
(5) ความสามารถในการวัดค่าได้ของตัวชี้วัด