ศูนย์เรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมช
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module2
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์Module3
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module 1
more
แสดงความเห็น แลกเปลี่ยนและนำเสนองานกลุ่ม
นักศึกษา มีความเห็นต่อประเด็น นโยบายการคลังแบบขาดดุล
ตอบ นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ และมีการลดการออมของประเทศ เพราะการออมของประเทศ คือ การออมของภาครัฐบวกการออมของภาคเอกชน การออมที่ลดลงจะทำให้การลงทุนเอกชนลดลง เพราะการกู้ยืมของรัฐบาลจะแข่งขันกับการกู้ยืมเพื่อลงทุนของภาคเอกชน หากเอกชนและรัฐบาลต่างยืนยันเจตนารมณ์ที่จะใช้จ่ายและลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้การส่งออกสุทธิลดลง กล่าวคือ ประเทศจะใช้เกินกำลังการผลิต จึงนำไปสู่การขาดดุลทางการค้า
ดังนั้น การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยนโยบายการคลังแบบขาดดุลจึงควรเป็นกรณีพิเศษ คือ ความต้องการซื้อและลงทุนของภาคเอกชนในประเทศปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ทำให้รัฐบาลต้องเข้ามาชดเชยการชะลอตัวดังกล่าวเป็นการชั่วคราว ซึ่งการขาดดุลงบประมาณที่มีคุณภาพ คือ การนำเงินงบประมาณไปลงทุนให้เป็นประโยชน์ และก่อให้เกิดการขยายตัวในอนาคตมากกว่าการนำงบประมาณไปส่งเสริมการบริโภค ทั้งนี้ หากเลือกการลดภาษีก็จะต้องลดภาษีเพื่อการลงทุนไม่ใช่เพื่อการบริโภค
ส.อ.เจตณรงค์ นวลเขียว 62423471176
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ มีดังนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ
ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา
มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า งบประมาณขาดดุล ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ
ส.ท.เจตณรงค์ นวลเขียว 62423471176
ส.ท.หญิง ชุลิตา หนูแดง รหัส 62423471199
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) คือการที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า “งบประมาณขาดดุล” ( deficit budget ) กรณีนี้จะใช้เมื่อเศรษฐกิจทดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเปรียบเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ
การขาดดุลงบประมาณ ก็เหมือนคนที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้และหากปล่อยให้เรื้อรังยาวนานก็เข้าข่ายมีหนี้สินล้นพ้นตัวได้ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นได้ แต่สาเหตุหนึ่งของการจัดทำงบประมาณขาดดุลเอง ก็เพราะข้อจำกัดของการจัดเก็บรายได้รัฐบาลที่ไม่สามารถเพิ่มอัตราภาษีได้เลยรวมถึงจำนวนคนที่เข้าระบบเสียภาษีของไทยยังน้อย ทำให้การจัดทำงบประมาณก็น่าจะขาดทุนเรื้อรังไปอีกยาวนาน
การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
ส.อ.เผดิมพงศ์ จงแพทย์
รหัส62423471215
นโยบายการคลังแบบขาดดุล การมีรายจ่ายสูงกว่ารายรับคำว่าการขาดดุลงบประมาณนี้เรามักได้ยินกันในทุกๆปีในช่วงเวลาที่รัฐบาลนำเสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อรัฐสภาซึ่งเป็นการสื่อความหมายว่ารายได้จากการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆของรัฐบาลจะต่ำกว่างบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ทำให้เกิดการขาดดุลงบประมาณนั้นเองการขาดดุลงบประมาณนั้นมีความหมายทั้งดีและทางที่ไม่ดีหมายความว่าการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการใช้จ่ายจากภาครัฐโดยตรงมากกว่าเงินรายได้ของรัฐบาลเองส่วนในแง่ไม่ดีนั้นอาจจะมองได้ว่าความสามารถในการจัดเก็บภาษีของภาครัฐไม่ดีจนไม่มีเงินเพียงพอต่อรายจ่ายหรืออาจมองได้ว่ารัฐบาลไม่สามารถควบคุมรายจ่ายของตัวเองได้จนทำให้รายจ่ายสูงกว่ารายรับนั่นเองเมื่อรัฐบาลขาดดุลงบประมาณจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตามก็จะต้องกู้เงินมาชดเชยส่วนที่ขาดรุ่นนั้นเช่นปีนี้ตั้งงบประมาณแบบขาดดุล 100,000 ล้านบาทรัฐบาลก็ต้องกู้เงินมาชดเชยส่วนที่ขาดดุลจำนวน 100,000 ล้านบาทด้วยซึ่งเงินที่กู้มานี้จะเป็นหนี้สาธารณะ
ส.ท.บูรณศักดิ์ สุทนต์ รหัส 62423471180
การขาด ดุลงบประมาณเป็นจํานวนมาก จะเป็นตัวที่ทําให้การเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง ต้องใช้เวลายาวนานขึ้น และการเติบโตที่เป็นไปอย่างเชื่องช้า จึงทําการแก้ปัญหาการ ขาดดุลงบประมาณด้วยการขึ้นภาษี และมีการกล่าวว่า การขึ้นภาษีในขณะที่เศรษฐกิจกําลังอ่อนแออาจชักนําให้เกิด เศรษฐกิจตกต่ำ และจะทําให้การเติบโตลดลง (แทนที่จะสูงขึ้น)
ส.อ.หญิง ปราวตรี แก่นสำรวจ 62423471175
นโยบายการคลังแบบขาดดุล เป็นการที่รัฐบาลมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย เนื่องมาจากรัฐบาลเก็บภาษีน้อยแล้วมีรายจ่ายมาก จึงส่งผลทำให้เศรษฐกิจแย่ลง สาเหตุที่รัฐบาลมีรายได้ที่น้อยลงเป็นเพราะรัฐเก็บภาษีอากรได้น้อยลง หรือมีรายจ่ายพิเศษเพิ่มขึ้นจึงส่งผลให้เงินคงคลังมี ปริมาณลดลง แสดงให้เห็นว่าการจัดทำงบประมาณเกินดุลหรือขาดดุล มีส่วนสัมพันธ์กับเงินคงคลังเสมอ และ ในกรณีที่ฝ่ายบริหารจัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบขาดดุล และมีผลขาดดุลจริงนั้นรัฐบาล มีทางเลือก 2 ทาง คือ
1.รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังกู้เงินมาเพื่อชดเชยงบประมาณขาดดุล ทำให้ไม่มีผลกระทบต่อปริมาณเงินคงคลัง การกู้ยืมเพื่อการนี้นิยมกู้ยืมภายในประเทศ และจัดไว้เป็นเงินในงบประมาณ เพราะนำมาชดเชยงบประมาณที่ขาดดุล แสดงให้เห็นความพยายามในการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล
2. รัฐบาลตั้งงบประมาณโดยการนำเงินคงคลังมาใช้ชดเชยงบประมาณที่ขาดดุลต่อเนื่อง โดยมีข้อผูกพันที่จะต้องชำระคืนในปีถัดมา โดยไม่ต้องเสียดอกเบี้ยเหมือนอย่างการกู้ยืมแต่ก็ส่งผลให้ปริมาณเงินคงคลังลดลง ย่อมแสดงให้เห็นความพยายามในการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล เช่นเดียวกัน
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ คือ การวางแผนในภาคของรัฐบาลหรือตามหน่วยงานต่างๆ ที่มาการใช้กันมาก มีความเกี่ยวข้องกับการวางแผนเรื่องงบประมาณ ซึ่งจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับวิสัยทัสน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และระบบการทำงานที่ชัดเจน ซึ่งจะมีผลต่อการทำตามแผนและการติดตามผลแผนการจัดสรรงบประมาณต่างๆ
กระบวนการงบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ส.อ.สุร วงศ์สมศักดิ์ รหัส 62423471174
ถ้าเปรียบเทียบรัฐบาลเป็นคน การที่ตั้งงบประมาณขาดดุลก็เพราะเงินปัจจุบันไม่พอใช้ เปรียบได้เหมือนมนุษย์เงินเดือนที่ช๊อตเงินหมดจนต้องหยิบบัตรกดเงินสดมาใช้ถูกไหมครับ"การตั้งงบประมาณขาดดุล ก็คือ รัฐมีรายได้ น้อยกว่า รายจ่าย เพื่อให้มีเงินพอจ่ายก็ต้องไปหยิบยืมเขามา คุณว่าเหมือนไหมล่ะ?
-ถ้าตั้งงบประมาณขาดดุลไปเรื่อยๆแปลว่ารายจ่ายกับรายรับมันสมดุลกันไปเรื่อยๆแล้วใช่ไหมครับ " ก็เท่ากับว่ามนุษย์เงินเดือนคนนั้นต้องแวะมาใช้บัตรกดเงินสดเรื่อยๆ ทุกเดือน นั่นแหล่ะ
-โชคดีที่รัฐบาลมีรายได้จากภาษีให้เก็บทุกปี ถ้าไม่พอจริงๆแค่ขึ้นภาษีโน่นนั่นนี้ก็จบ ต่างกับมนุษย์เงินเดือนที่บูโรแน่นอน"
ไม่ต่างกัน มนุษย์เงินเดือนก็มีเงินเดือนเป็นรายได้สม่ำเสมอ ช่วงแรกๆ มนุษย์เงินเดือนก็จะขยันขึ้น(อาจจะทำงานพิเศษ)เพื่อหาเงินเพิ่มมาใช้หนี้ สุดท้ายก็ไม่ไหวเบี้ยวหนี้ติดเครดิตบูโร ฝั่งรัฐบาลช่วงแรกๆ ก็ขึ้นภาษีเพิ่มรายได้ แต่สุดท้ายหากจำนวนเงินที่ขาดดุลมันเยอะ ไม่ไหวรัฐบาลก็เบี้ยวหนี้อย่างที่เคยเกิดขึ้นใน อาเจนติน่า เม็กซิโก และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก
ส.อ.สุรเชษฐ์ วงศ์สมศักดิ์ รหัส 62423471174 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ตอบ การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ เช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
ส.ท.ฤทธิพร สง่างาม 62423471171 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า งบประมาณขาดดุล ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ เช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
จ.ส.อ.สมใจ กำแก้ว รหัสนักศึกษา 62423471211
การขาดดุลงบประมาณ(budget deficit) คือ จํานวนเงินของรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นช่วงระยะเวลา 1 ปี ในทางตรงกันข้ามถ้าหากรายได้ของรัฐบาลมากกว่ารายจ่าย ก็จะเกิดการเกินดุลงบประมาณ(budget surplus) ตัวอย่างเช่น ในระหว่างปีงบประมาณ 2541 รัฐบาลอเมริกามีรายได้จากการเก็บภาษี 1.72 ล้าน ล้านดอลลาร์ในขณะที่มีรายจ่าย 1.65 ล้านล้านดอลลาร์ ดังนั้นในปีงบประมาณนี้รัฐบาลจึงมีงบประมาณเกินดุลเป็นจํานวน 70 พันล้านดอลลาร์ ในขณะที่หนี้สินของรัฐบาล(national debt) หรือบางครั้งเรียกว่าหนี้สินภาครัฐบาล(public debt) คือ มูลค่าหรือจํานวนหนี้สินทั้งหมดของรัฐบาล ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตัวอย่างเช่น หนี้สินภาครัฐบาลของอเมริกา ณ สิ้นปีงบประมาณ 2541 เท่ากับประมาณ 5.5 ล้านล้านบาท แนวคิดในเรื่อง การขาดดุลและหนี้สินนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพราะรัฐบาลมีหนี้สิน เพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการขาดดุลงบประมาณ และจะมีหนี้สินลดลง เมื่อเกินดุลงบประมาณ ความสัมพันธ์ระหว่าง หนี้สินและการขาดดุล สามารถอธิบายโดยอุปมา อุปมัย กับตัวอย่างต่อไปนี้ คือเมื่อเราปล่อยน้ําลงในตุ่ม (งบประมาณขาดดุล) ระดับน้ําที่สะสมอยู่ในตุ่ม(หนี้สิน) ก็จะมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราปล่อยน้ําให้ไหล ออกจากตุ่ม(งบประมาณเกินดุล) ระดับน้ําในตุ่ม(หนี้สิน) จะลดลง ดังนั้นการขาดดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลสูงขึ้น ในขณะที่การเกินดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลลดลง
นโยบายการคลังแบบขาดดุล การขาดดุลงบประมาณ(budget deficit) คือ จํานวนเงินของรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ในทางตรงกันข้ามถ้าหากรายได้ของรัฐบาลมากกว่ารายจ่าย ก็จะเกิดการเกินดุลงบประมาณ(budget surplus) ตัวอย่างเช่น ในระหว่างปีงบประมาณ 2541 รัฐบาลอเมริกามีรายได้จากการเก็บภาษี 1.72 ล้าน ล้านดอลลาร์ในขณะที่มีรายจ่าย 1.65 ล้าน ล้านดอลลาร์ ดังนั้นในปีงบประมาณนี้รัฐบาลจึงมีงบประมาณเกินดุลเป็นจํานวน 70 พันล้านดอลลาร์ ในขณะที่หนี้สินของรัฐบาล(national debt) หรือบางครั้งเรียกว่าหนี้สินภาครัฐบาล(public debt) คือ มูลค่าหรือจํานวนหนี้สินทั้งหมดของรัฐบาล ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตัวอย่างเช่น หนี้สินภาครัฐบาลของอเมริกา ณ สิ้นปีงบประมาณ 2541 เท่ากับประมาณ 5.5 ล้าน ล้านบาท แนวคิดในเรื่อง การขาดดุลและหนี้สินนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพราะรัฐบาลมีหนี้สินเพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการขาดดุลงบประมาณและจะมีหนี้สินลดลง เมื่อเกินดุลงบประมาณ ความสัมพันธ์ระหว่าง หนี้สินและการขาดดุล สามารถอธิบายโดยอุปมา อุปมัย กับตัวอย่างต่อไปนี้ คือเมื่อเราปล่อยน้ำลงในตุ่ม (งบประมาณขาดดุล) ระดับน้ําที่สะสมอยู่ในตุ่ม (หนี้สิน) ก็จะมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราปล่อยน้ําให้ไหล ออกจากตุ่ม (งบประมาณเกินดุล) ระดับน้ําในตุ่ม (หนี้สิน) จะลดลง ดังนั้นการขาดดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สิน ของรัฐบาลสูงขึ้นในขณะที่การเกินดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลลดลง
ส.อ.จารุเดช บุญวรรณ รหัสนักศึกษา 62423471183
วิชาการบริหารคลังและงบประมาณ ( POS3402)
นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการตั้งนโยบายขาดดุล การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติจะเพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลจะใช้นโยบายดังกล่าวในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ ที่จะทำให้เกิด
ภาวการณ์จ้างงานเต็มที่ได้
ซึ่งอาจะเกิดจากสาเหตุต่อไปนี้
1.รัฐบาลมีลักษณะที่มองแต่ประโยชน์ในระยะสั้น (Short sightedness) โดยมองข้ามผลของการจัดทำงบประมาณไม่สมดุลอย่างต่อเนื่องที่มีในระยะยาว ซึ่งส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะความไม่มั่นใจว่าจะได้รับการเลือกตั้งกลับมาเป็นรัฐบาลในสมัยหน้า
2.ปัญหาการใช้ทรัพยากร (ทางการคลัง) ร่วมกัน (Common pool problem) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน รัฐบาลมีแรงจูงใจที่จะเพิ่มการใช้จ่ายมากขึ้นในช่วงเศรษฐกิจดีที่มีทรัพยากรทางการคลังเป็นจำนวนมาก จนอาจกลายเป็นมากจนเกินความจำเป็นและนำไปสู่การจัดทำงบประมาณขาดดุลที่ผลักภาระในการหารายได้มาชดเชยการขาดดุลที่เกิดขี้นไปยังรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศต่อในภายหลัง และ
3.การใช้นโยบายการคลังแบบตั้งใจหรือขึ้นกับดุลพินิจของรัฐบาลมากขึ้นและนำไปสู่การดำเนินนโยบายทางการคลังที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจ มากกว่าการดำเนินนโยบายการคลังแบบปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (Automatic stabilizer) ทั้งนี้การดำเนินนโยบายทางการคลังที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจ หรือ Pro-cyclical fiscal policy คือ รัฐมีการเพิ่มงบประมาณรายจ่ายในช่วงที่เศรษฐกิจดี แต่ลดงบประมาณรายจ่ายในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำหรือชะลอตัว
ตอบ นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ และมีการลดการออมของประเทศ เพราะการออมของประเทศ คือ การออมของภาครัฐบวกการออมของภาคเอกชน การออมที่ลดลงจะทำให้การลงทุนเอกชนลดลง เพราะการกู้ยืมของรัฐบาลจะแข่งขันกับการกู้ยืมเพื่อลงทุนของภาคเอกชน หากเอกชนและรัฐบาลต่างยืนยันเจตนารมณ์ที่จะใช้จ่ายและลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้การส่งออกสุทธิลดลง กล่าวคือ ประเทศจะใช้เกินกำลังการผลิต จึงนำไปสู่การขาดดุลทางการค้า
ดังนั้น การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยนโยบายการคลังแบบขาดดุลจึงควรเป็นกรณีพิเศษ คือ ความต้องการซื้อและลงทุนของภาคเอกชนในประเทศปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ทำให้รัฐบาลต้องเข้ามาชดเชยการชะลอตัวดังกล่าวเป็นการชั่วคราว ซึ่งการขาดดุลงบประมาณที่มีคุณภาพ คือ การนำเงินงบประมาณไปลงทุนให้เป็นประโยชน์ และก่อให้เกิดการขยายตัวในอนาคตมากกว่าการนำงบประมาณไปส่งเสริมการบริโภค ทั้งนี้ หากเลือกการลดภาษีก็จะต้องลดภาษีเพื่อการลงทุนไม่ใช่เพื่อการบริโภค
ส.อ.เจตณรงค์ นวลเขียว 62423471176
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ มีดังนี้
1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ
2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ
ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม
3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา
มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า งบประมาณขาดดุล ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า งบประมาณขาดดุล ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ
ส.ท.หญิง ชุลิตา หนูแดง รหัส 62423471199
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) คือการที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า “งบประมาณขาดดุล” ( deficit budget ) กรณีนี้จะใช้เมื่อเศรษฐกิจทดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเปรียบเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ
การขาดดุลงบประมาณ ก็เหมือนคนที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้และหากปล่อยให้เรื้อรังยาวนานก็เข้าข่ายมีหนี้สินล้นพ้นตัวได้ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นได้ แต่สาเหตุหนึ่งของการจัดทำงบประมาณขาดดุลเอง ก็เพราะข้อจำกัดของการจัดเก็บรายได้รัฐบาลที่ไม่สามารถเพิ่มอัตราภาษีได้เลยรวมถึงจำนวนคนที่เข้าระบบเสียภาษีของไทยยังน้อย ทำให้การจัดทำงบประมาณก็น่าจะขาดทุนเรื้อรังไปอีกยาวนาน
ส.ท.หญิง ชุลิตา หนูแดง รหัส 62423471199
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) คือการที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า “งบประมาณขาดดุล” ( deficit budget ) กรณีนี้จะใช้เมื่อเศรษฐกิจทดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเปรียบเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ
การขาดดุลงบประมาณ ก็เหมือนคนที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้และหากปล่อยให้เรื้อรังยาวนานก็เข้าข่ายมีหนี้สินล้นพ้นตัวได้ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นได้ แต่สาเหตุหนึ่งของการจัดทำงบประมาณขาดดุลเอง ก็เพราะข้อจำกัดของการจัดเก็บรายได้รัฐบาลที่ไม่สามารถเพิ่มอัตราภาษีได้เลยรวมถึงจำนวนคนที่เข้าระบบเสียภาษีของไทยยังน้อย ทำให้การจัดทำงบประมาณก็น่าจะขาดทุนเรื้อรังไปอีกยาวนาน
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
ตอบ นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ และมีการลดการออมของประเทศ เพราะการออมของประเทศ คือ การออมของภาครัฐบวกการออมของภาคเอกชน การออมที่ลดลงจะทำให้การลงทุนเอกชนลดลง เพราะการกู้ยืมของรัฐบาลจะแข่งขันกับการกู้ยืมเพื่อลงทุนของภาคเอกชน หากเอกชนและรัฐบาลต่างยืนยันเจตนารมณ์ที่จะใช้จ่ายและลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้การส่งออกสุทธิลดลง กล่าวคือ ประเทศจะใช้เกินกำลังการผลิต จึงนำไปสู่การขาดดุลทางการค้า
ดังนั้น การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยนโยบายการคลังแบบขาดดุลจึงควรเป็นกรณีพิเศษ คือ ความต้องการซื้อและลงทุนของภาคเอกชนในประเทศปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ทำให้รัฐบาลต้องเข้ามาชดเชยการชะลอตัวดังกล่าวเป็นการชั่วคราว ซึ่งการขาดดุลงบประมาณที่มีคุณภาพ คือ การนำเงินงบประมาณไปลงทุนให้เป็นประโยชน์ และก่อให้เกิดการขยายตัวในอนาคตมากกว่าการนำงบประมาณไปส่งเสริมการบริโภค ทั้งนี้ หากเลือกการลดภาษีก็จะต้องลดภาษีเพื่อการลงทุนไม่ใช่เพื่อการบริโภค
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน
การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
ส.อ.เผดิมพงศ์ จงแพทย์
รหัส62423471215
นโยบายการคลังแบบขาดดุล การมีรายจ่ายสูงกว่ารายรับคำว่าการขาดดุลงบประมาณนี้เรามักได้ยินกันในทุกๆปีในช่วงเวลาที่รัฐบาลนำเสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อรัฐสภาซึ่งเป็นการสื่อความหมายว่ารายได้จากการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆของรัฐบาลจะต่ำกว่างบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ทำให้เกิดการขาดดุลงบประมาณนั้นเองการขาดดุลงบประมาณนั้นมีความหมายทั้งดีและทางที่ไม่ดีหมายความว่าการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการใช้จ่ายจากภาครัฐโดยตรงมากกว่าเงินรายได้ของรัฐบาลเองส่วนในแง่ไม่ดีนั้นอาจจะมองได้ว่าความสามารถในการจัดเก็บภาษีของภาครัฐไม่ดีจนไม่มีเงินเพียงพอต่อรายจ่ายหรืออาจมองได้ว่ารัฐบาลไม่สามารถควบคุมรายจ่ายของตัวเองได้จนทำให้รายจ่ายสูงกว่ารายรับนั่นเองเมื่อรัฐบาลขาดดุลงบประมาณจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตามก็จะต้องกู้เงินมาชดเชยส่วนที่ขาดรุ่นนั้นเช่นปีนี้ตั้งงบประมาณแบบขาดดุล 100,000 ล้านบาทรัฐบาลก็ต้องกู้เงินมาชดเชยส่วนที่ขาดดุลจำนวน 100,000 ล้านบาทด้วยซึ่งเงินที่กู้มานี้จะเป็นหนี้สาธารณะ
ส.ท.บูรณศักดิ์ สุทนต์ รหัส 62423471180
การขาด ดุลงบประมาณเป็นจํานวนมาก จะเป็นตัวที่ทําให้การเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง ต้องใช้เวลายาวนานขึ้น และการเติบโตที่เป็นไปอย่างเชื่องช้า จึงทําการแก้ปัญหาการ ขาดดุลงบประมาณด้วยการขึ้นภาษี และมีการกล่าวว่า การขึ้นภาษีในขณะที่เศรษฐกิจกําลังอ่อนแออาจชักนําให้เกิด เศรษฐกิจตกต่ำ และจะทําให้การเติบโตลดลง (แทนที่จะสูงขึ้น)
ส.ท.บูรณศักดิ์ สุทนต์ รหัส 62423471180
การขาด ดุลงบประมาณเป็นจํานวนมาก จะเป็นตัวที่ทําให้การเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง ต้องใช้เวลายาวนานขึ้น และการเติบโตที่เป็นไปอย่างเชื่องช้า จึงทําการแก้ปัญหาการ ขาดดุลงบประมาณด้วยการขึ้นภาษี และมีการกล่าวว่า การขึ้นภาษีในขณะที่เศรษฐกิจกําลังอ่อนแออาจชักนําให้เกิด เศรษฐกิจตกต่ำ และจะทําให้การเติบโตลดลง (แทนที่จะสูงขึ้น)
ส.อ.หญิง ปราวตรี แก่นสำรวจ 62423471175
นโยบายการคลังแบบขาดดุล เป็นการที่รัฐบาลมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย เนื่องมาจากรัฐบาลเก็บภาษีน้อยแล้วมีรายจ่ายมาก จึงส่งผลทำให้เศรษฐกิจแย่ลง สาเหตุที่รัฐบาลมีรายได้ที่น้อยลงเป็นเพราะรัฐเก็บภาษีอากรได้น้อยลง หรือมีรายจ่ายพิเศษเพิ่มขึ้นจึงส่งผลให้เงินคงคลังมี ปริมาณลดลง แสดงให้เห็นว่าการจัดทำงบประมาณเกินดุลหรือขาดดุล มีส่วนสัมพันธ์กับเงินคงคลังเสมอ และ ในกรณีที่ฝ่ายบริหารจัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบขาดดุล และมีผลขาดดุลจริงนั้นรัฐบาล มีทางเลือก 2 ทาง คือ
1.รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังกู้เงินมาเพื่อชดเชยงบประมาณขาดดุล ทำให้ไม่มีผลกระทบต่อปริมาณเงินคงคลัง การกู้ยืมเพื่อการนี้นิยมกู้ยืมภายในประเทศ และจัดไว้เป็นเงินในงบประมาณ เพราะนำมาชดเชยงบประมาณที่ขาดดุล แสดงให้เห็นความพยายามในการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล
2. รัฐบาลตั้งงบประมาณโดยการนำเงินคงคลังมาใช้ชดเชยงบประมาณที่ขาดดุลต่อเนื่อง โดยมีข้อผูกพันที่จะต้องชำระคืนในปีถัดมา โดยไม่ต้องเสียดอกเบี้ยเหมือนอย่างการกู้ยืมแต่ก็ส่งผลให้ปริมาณเงินคงคลังลดลง ย่อมแสดงให้เห็นความพยายามในการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล เช่นเดียวกัน
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ คือ การวางแผนในภาคของรัฐบาลหรือตามหน่วยงานต่างๆ ที่มาการใช้กันมาก มีความเกี่ยวข้องกับการวางแผนเรื่องงบประมาณ ซึ่งจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับวิสัยทัสน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และระบบการทำงานที่ชัดเจน ซึ่งจะมีผลต่อการทำตามแผนและการติดตามผลแผนการจัดสรรงบประมาณต่างๆ
กระบวนการงบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ส.อ.สุร วงศ์สมศักดิ์ รหัส 62423471174
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ถ้าเปรียบเทียบรัฐบาลเป็นคน การที่ตั้งงบประมาณขาดดุลก็เพราะเงินปัจจุบันไม่พอใช้ เปรียบได้เหมือนมนุษย์เงินเดือนที่ช๊อตเงินหมดจนต้องหยิบบัตรกดเงินสดมาใช้ถูกไหมครับ"การตั้งงบประมาณขาดดุล ก็คือ รัฐมีรายได้ น้อยกว่า รายจ่าย เพื่อให้มีเงินพอจ่ายก็ต้องไปหยิบยืมเขามา คุณว่าเหมือนไหมล่ะ?
-ถ้าตั้งงบประมาณขาดดุลไปเรื่อยๆแปลว่ารายจ่ายกับรายรับมันสมดุลกันไปเรื่อยๆแล้วใช่ไหมครับ " ก็เท่ากับว่ามนุษย์เงินเดือนคนนั้นต้องแวะมาใช้บัตรกดเงินสดเรื่อยๆ ทุกเดือน นั่นแหล่ะ
-โชคดีที่รัฐบาลมีรายได้จากภาษีให้เก็บทุกปี ถ้าไม่พอจริงๆแค่ขึ้นภาษีโน่นนั่นนี้ก็จบ ต่างกับมนุษย์เงินเดือนที่บูโรแน่นอน"
ไม่ต่างกัน มนุษย์เงินเดือนก็มีเงินเดือนเป็นรายได้สม่ำเสมอ ช่วงแรกๆ มนุษย์เงินเดือนก็จะขยันขึ้น(อาจจะทำงานพิเศษ)เพื่อหาเงินเพิ่มมาใช้หนี้ สุดท้ายก็ไม่ไหวเบี้ยวหนี้ติดเครดิตบูโร ฝั่งรัฐบาลช่วงแรกๆ ก็ขึ้นภาษีเพิ่มรายได้ แต่สุดท้ายหากจำนวนเงินที่ขาดดุลมันเยอะ ไม่ไหวรัฐบาลก็เบี้ยวหนี้อย่างที่เคยเกิดขึ้นใน อาเจนติน่า เม็กซิโก และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก
ส.อ.สุรเชษฐ์ วงศ์สมศักดิ์ รหัส 62423471174 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402)
ตอบ การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ เช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
ส.ท.ฤทธิพร สง่างาม 62423471171 วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า งบประมาณขาดดุล ซึ่งอาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ เช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
จ.ส.อ.สมใจ กำแก้ว รหัสนักศึกษา 62423471211
การขาดดุลงบประมาณ(budget deficit) คือ จํานวนเงินของรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นช่วงระยะเวลา 1 ปี ในทางตรงกันข้ามถ้าหากรายได้ของรัฐบาลมากกว่ารายจ่าย ก็จะเกิดการเกินดุลงบประมาณ(budget surplus) ตัวอย่างเช่น ในระหว่างปีงบประมาณ 2541 รัฐบาลอเมริกามีรายได้จากการเก็บภาษี 1.72 ล้าน ล้านดอลลาร์ในขณะที่มีรายจ่าย 1.65 ล้านล้านดอลลาร์ ดังนั้นในปีงบประมาณนี้รัฐบาลจึงมีงบประมาณเกินดุลเป็นจํานวน 70 พันล้านดอลลาร์ ในขณะที่หนี้สินของรัฐบาล(national debt) หรือบางครั้งเรียกว่าหนี้สินภาครัฐบาล(public debt) คือ มูลค่าหรือจํานวนหนี้สินทั้งหมดของรัฐบาล ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตัวอย่างเช่น หนี้สินภาครัฐบาลของอเมริกา ณ สิ้นปีงบประมาณ 2541 เท่ากับประมาณ 5.5 ล้านล้านบาท แนวคิดในเรื่อง การขาดดุลและหนี้สินนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพราะรัฐบาลมีหนี้สิน เพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการขาดดุลงบประมาณ และจะมีหนี้สินลดลง เมื่อเกินดุลงบประมาณ ความสัมพันธ์ระหว่าง หนี้สินและการขาดดุล สามารถอธิบายโดยอุปมา อุปมัย กับตัวอย่างต่อไปนี้ คือเมื่อเราปล่อยน้ําลงในตุ่ม (งบประมาณขาดดุล) ระดับน้ําที่สะสมอยู่ในตุ่ม(หนี้สิน) ก็จะมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราปล่อยน้ําให้ไหล ออกจากตุ่ม(งบประมาณเกินดุล) ระดับน้ําในตุ่ม(หนี้สิน) จะลดลง ดังนั้นการขาดดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลสูงขึ้น ในขณะที่การเกินดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลลดลง
จ.ส.อ.สมใจ กำแก้ว รหัสนักศึกษา 62423471211
นโยบายการคลังแบบขาดดุล การขาดดุลงบประมาณ(budget deficit) คือ จํานวนเงินของรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ในทางตรงกันข้ามถ้าหากรายได้ของรัฐบาลมากกว่ารายจ่าย ก็จะเกิดการเกินดุลงบประมาณ(budget surplus) ตัวอย่างเช่น ในระหว่างปีงบประมาณ 2541 รัฐบาลอเมริกามีรายได้จากการเก็บภาษี 1.72 ล้าน ล้านดอลลาร์ในขณะที่มีรายจ่าย 1.65 ล้าน ล้านดอลลาร์ ดังนั้นในปีงบประมาณนี้รัฐบาลจึงมีงบประมาณเกินดุลเป็นจํานวน 70 พันล้านดอลลาร์ ในขณะที่หนี้สินของรัฐบาล(national debt) หรือบางครั้งเรียกว่าหนี้สินภาครัฐบาล(public debt) คือ มูลค่าหรือจํานวนหนี้สินทั้งหมดของรัฐบาล ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตัวอย่างเช่น หนี้สินภาครัฐบาลของอเมริกา ณ สิ้นปีงบประมาณ 2541 เท่ากับประมาณ 5.5 ล้าน ล้านบาท แนวคิดในเรื่อง การขาดดุลและหนี้สินนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพราะรัฐบาลมีหนี้สินเพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการขาดดุลงบประมาณและจะมีหนี้สินลดลง เมื่อเกินดุลงบประมาณ ความสัมพันธ์ระหว่าง หนี้สินและการขาดดุล สามารถอธิบายโดยอุปมา อุปมัย กับตัวอย่างต่อไปนี้ คือเมื่อเราปล่อยน้ำลงในตุ่ม (งบประมาณขาดดุล) ระดับน้ําที่สะสมอยู่ในตุ่ม (หนี้สิน) ก็จะมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราปล่อยน้ําให้ไหล ออกจากตุ่ม (งบประมาณเกินดุล) ระดับน้ําในตุ่ม (หนี้สิน) จะลดลง ดังนั้นการขาดดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สิน ของรัฐบาลสูงขึ้นในขณะที่การเกินดุลงบประมาณจะทําให้หนี้สินของรัฐบาลลดลง
ส.อ.จารุเดช บุญวรรณ รหัสนักศึกษา 62423471183
วิชาการบริหารคลังและงบประมาณ ( POS3402)
นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการตั้งนโยบายขาดดุล การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติจะเพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลจะใช้นโยบายดังกล่าวในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ ที่จะทำให้เกิด
ภาวการณ์จ้างงานเต็มที่ได้
ซึ่งอาจะเกิดจากสาเหตุต่อไปนี้
1.รัฐบาลมีลักษณะที่มองแต่ประโยชน์ในระยะสั้น (Short sightedness) โดยมองข้ามผลของการจัดทำงบประมาณไม่สมดุลอย่างต่อเนื่องที่มีในระยะยาว ซึ่งส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะความไม่มั่นใจว่าจะได้รับการเลือกตั้งกลับมาเป็นรัฐบาลในสมัยหน้า
2.ปัญหาการใช้ทรัพยากร (ทางการคลัง) ร่วมกัน (Common pool problem) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน รัฐบาลมีแรงจูงใจที่จะเพิ่มการใช้จ่ายมากขึ้นในช่วงเศรษฐกิจดีที่มีทรัพยากรทางการคลังเป็นจำนวนมาก จนอาจกลายเป็นมากจนเกินความจำเป็นและนำไปสู่การจัดทำงบประมาณขาดดุลที่ผลักภาระในการหารายได้มาชดเชยการขาดดุลที่เกิดขี้นไปยังรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศต่อในภายหลัง และ
3.การใช้นโยบายการคลังแบบตั้งใจหรือขึ้นกับดุลพินิจของรัฐบาลมากขึ้นและนำไปสู่การดำเนินนโยบายทางการคลังที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจ มากกว่าการดำเนินนโยบายการคลังแบบปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (Automatic stabilizer) ทั้งนี้การดำเนินนโยบายทางการคลังที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจ หรือ Pro-cyclical fiscal policy คือ รัฐมีการเพิ่มงบประมาณรายจ่ายในช่วงที่เศรษฐกิจดี แต่ลดงบประมาณรายจ่ายในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำหรือชะลอตัว