top of page

ความคิดเห็นในฟอรัม

การบริหารงานคลังและงบประมาณ POS 3402
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
1
0
การบริหารงานคลังและงบประมาณ POS 3402
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
ตอบ นโยบายการคลังแบบขาดดุล คือ การที่รัฐบาลมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ และมีการลดการออมของประเทศ เพราะการออมของประเทศ คือ การออมของภาครัฐบวกการออมของภาคเอกชน การออมที่ลดลงจะทำให้การลงทุนเอกชนลดลง เพราะการกู้ยืมของรัฐบาลจะแข่งขันกับการกู้ยืมเพื่อลงทุนของภาคเอกชน หากเอกชนและรัฐบาลต่างยืนยันเจตนารมณ์ที่จะใช้จ่ายและลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้การส่งออกสุทธิลดลง กล่าวคือ ประเทศจะใช้เกินกำลังการผลิต จึงนำไปสู่การขาดดุลทางการค้า ดังนั้น การกระตุ้นเศรษฐกิจโดยนโยบายการคลังแบบขาดดุลจึงควรเป็นกรณีพิเศษ คือ ความต้องการซื้อและลงทุนของภาคเอกชนในประเทศปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง ทำให้รัฐบาลต้องเข้ามาชดเชยการชะลอตัวดังกล่าวเป็นการชั่วคราว ซึ่งการขาดดุลงบประมาณที่มีคุณภาพ คือ การนำเงินงบประมาณไปลงทุนให้เป็นประโยชน์ และก่อให้เกิดการขยายตัวในอนาคตมากกว่าการนำงบประมาณไปส่งเสริมการบริโภค ทั้งนี้ หากเลือกการลดภาษีก็จะต้องลดภาษีเพื่อการลงทุนไม่ใช่เพื่อการบริโภค
1
0
การบริหารงานคลังและงบประมาณ POS 3402
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
1
0
การบริหารงานคลังและงบประมาณ POS 3402
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) การขาดดุลของงบประมาณที่จำนวนรายจ่ายของรัฐที่มากกว่ารายได้ที่ได้รับ แนวคิดของการขาดดุลและหนี้ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากรัฐบาลมีหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการขาดดุลของงบประมาณ และจะมีหนี้สินน้อยลงเมื่อเกินดุลงบประมาณระหว่างหนี้สินและส่วนขาดดุล การขาดดุลงบประมาณจะทำให้เกิดหนี้สิน การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ อาจเลือกใช้ในยามที่เกิดปัญหาเงินฝืด หรือเศรษฐกิจถดถอยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นกว่าภาษีที่จัดเก็บ ก็เป็นเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจเช่น การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เหลือร้อยละ 5 ก็ทำให้คนมีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น เป็นต้น
1
0
อภิปรายระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
PPBS จะเน้นการวิเคราะห์ ซึ่งมีเทคนิคการวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ ได้แก่ System analysis, Zero base budget analysis, Quantitative analysis, Qualitative analysis, Marginal analysis และ Cost effectiveness หรือ Cost - benefit analysis การเสนอของบประมาณต้องจัดทำเอกสาร 3 ชุด คือ 1. Program Memorandum ( PM ) เป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นโครงสร้างของสายงาน ความสัมพันธ์ของแผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์ ผลงาน และผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 2. Program Financial Plan ( PFP ) เป็นแผนการใช้จ่ายของโครงการที่ต้องการเงิน- งบประมาณในระยะยาว เพื่อเป็นหลักประกันว่าโครงการจะดำเนินต่อไปได้ในปี ต่อ ๆ ไป 3. Special Study ( SS ) เป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์โครงการและ ทางเลือกโครงการต่าง ๆ แนวคิดของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 1. รัฐบาลสมารถใช้วิธีการและกระบวนการงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดผลสำเร็จตามนโยบาย และให้เห็นผลที่ประชาชนได้รับจากรัฐบาล 2. มุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยคำนึงถึงความโปร่งใส 3. มอบความคล่องตัวในการจัดทำและบริหารงบประมาณให้กับผู้ปฏิบัติ (Devolution) ในขณะเดียวกันหน่วยปฏิบัติจะต้องแสดงถึงความรับผิดชอบ (Accountobility) จากการนำงบประมาณไปใช้ให้เกิดผลตามยุทธศาสตร์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยผ่านระบบตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและผลทางการเงินที่รวดเร็ว ทันสมัย กระบวนการงบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 3 ภาคคือ 1. ภาคการจัดทำงบประมาณ 2. ภาคการบริหารงบประมาณ 3. ภาคการติดตามประเมินผล การวางแผนงบประมาณ การที่จะให้หน่วยงานมีอิสระในการบริหารในขั้นต้นหน่วยงานจะต้องมีการวางแผนที่ดี และสามารถทำให้รัฐบาลมองเห็นภาพรวมของผลิตผล/กิจกรรมที่จะต้องจัดเตรียมงบประมาณให้ ตามต้นทุนที่ประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระบวนการการวางแผนงบประมาณที่จะต้องดำเนินการคือ 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ 2. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 3. มีเกณฑ์จัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานปฏิบัติอย่างโปร่งใส สรุป ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ (Strategy Performance Based Budgeting - SPBB) นี้เป็นการวางแผนที่ใช้กันมากในภาคของรัฐบาลหรือตามหน่วยงานต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการวางแผนเรื่องงบประมาณ ซึ่งจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับวิสัยทัสน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และระบบการทำงานที่ชัดเจน ซึ่งจะมีผลต่อการทำตามแผนและการติดตามผลแผนการจัดสรรงบประมาณต่างๆ การคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม (Activity Base Costing: ABC) คือกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการนั้นโดยปกติสมมุติฐานที่ตั้งไว้ก็คือเราจะมีสินค้าและบริการที่ดี ส่งมอบทันเวลาและสินค้าและบริการต้องเป็นที่พอใจของผู้บริโภคและกิจการจะมีกำไรจากการขายสินค้าหรือบริการนั้นแต่ในโลกแห่งความเป็นจริงมักไม่เป็นเช่นนั้น ดังนั้นจึงจำเป็นที่ต้องหาวิธีการที่จะทำให้สามารถคำนวณหาต้นทุนที่แท้จริงของสินค้าได้โดยใช้วิธีการ Activity Base Costing หรือ การคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม ซึ่งแต่เดิม ณ. การคิดมูลค่าที่ บัญชีแยกประเภทอาจให้ความสนใจน้อยเกี่ยวกับ วิธีการเฉลี่ยค่าต้นทุน โดยอาจเป็นการตัดสินมูลค่านั้นๆ จากแผนกบัญชีเป็นหลัก ซึ่งอาจมีผลทำให้ ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้น ถูกแบ่งเฉลี่ยไปให้แต่ละฝ่ายหรือผลิตภัณฑ์ ไม่ถูกต้องเพียงพอ และในที่สุด ผลรวม ที่บัญชีแยกประเภทอาจจะไม่ตรง ถ้ามองบนพื้นฐานของ ABC ทั้งนี้มิได้หมายความว่าทุกอย่างที่ไม่ได้ทำแบบ ABCนั้นผิด เมื่อไหร่จึงจำเป็นจะต้อง นำการคำนวณต้นทุนแบบ ABC มาใช้ 1. เมื่อพบว่าค่าใช้จ่ายโรงงานสูงผิดปกติ 2. เมื่อมีการผลิตหลายๆ ผลิตภัณฑ์ 3. เมื่อรู้สึกไม่มั่นใจในตัวเลขต้นทุนของแต่ละผลิตภัณฑ์ 4. เมื่อมีการแข่งขันสูง ประโยชน์ของการคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม 1. ช่วยให้เราจะชี้ชัดลงไปได้ว่าสินค้าใดทำกำไรหรือสินค้าใดทำให้ขาดทุน 2.สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเปรียบเทียบว่ากิจกรรมนั้นๆควรจะทำเองหรือจ้างบริการภายนอกทำจะคุ้มกว่ากัน 3. สามารถใช้ผลของมันมาพิจารณาในการลดต้นทุนได้ 4. ผลที่ได้มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในภาวะที่มีการแข่งขันสูง สรุป ทำไมถึงนำABC จึงเข้ามาใช้ในองค์องทางด้านการผลิตมากที่สุด องค์กรนี้มีการผลิตที่ซับซ้อนหรือไม่ผลิตภัณฑ์มีจำนวนเพียงพอมีความหลากหลาย มีการแนะนำสินค้าออกสู่ตลาด มีข้อมูลองค์กรที่สามารถช่วยตัดสินใจในการพัฒนาองค์กรได้ ถือเป็นการวางแผนในการพัฒนาในตัวของสินค้าเพื่อที่จะออกสู่ตลาดและการวางแผนในเรื่องของงบประมาณในการบริหารต่างๆ การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework: MTEF) ระดับของการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางมี 2 ระดับได้แก่ 1. กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับประเทศ (Top-down MTEF) การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับประเทศเป็นการกำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายของประเทศระยะเวลา 4 ปี ซึ่งพิจารณาจากกรอบเศรษฐกิจ และการคลังมหภาค 2. กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับกระทรวง /หน่วยงาน (Bottom-up MTEF) การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในระดับกระทรวง / หน่วยงาน เป็นการจัดทำวงเงินงบประมาณในระดับกระทรวง และหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวง ระยะเวลา 4 ปี โดยในการดำเนินการจะต้องจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ เป้าหมายผลผลิต ผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายผลผลิต เพื่อเป็นกรอบในการประมาณการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล หลักการในการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในระดับกระทรวง /หน่วยงาน 1. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 3 ปี ซึ่งจะแสดงเฉพาะภาพรวมของภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณที่รัฐบาลกำหนดของปีที่จัดทำงบประมาณ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ งาน/โครงการ 2. การวางแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการต่อเนื่องกันไป (Rolling Plan) ประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าของปีที่ 1 จะนำมาใช้เป็นฐานงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีต่อไป 3. ในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในปีถัดไปหรือปีที่ 2 อาจจะต้องมีการทบทวนปรับตัวเลขประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (Rolling Plan) โดยประเด็นการทบทวนหลัก ๆ ได้แก่ 3.1 ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ เช่น อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตลอดจนระดับราคาที่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ จะต้องใช้ตัวเลขที่หน่วยงานกลาง 3.2 ยุทธศาสตร์หรือนโยบายใหม่ของรัฐบาล 3.3 ผลการดำเนินงาน และรายงานการเงินของส่วนราชการ สรุปได้ว่า เป็นพื้นฐานของการจัดทำงบประมาณรายจ่ายในแต่ละปี โดยนำแผนที่กำหนดไว้เดิมมาพิจารณาต่อเนื่อง คือ ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าของปีที่ 1 จะนำมาใช้เป็นฐานในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีต่อไป มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ Economic Value Added: EVA EVA สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ถือหุ้นมากที่สุดเป็นการนำทรัพยากรไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าได้สูงสุด หากไม่มุ่งเน้นที่มูลค่าผู้ถือหุ้น การใช้ทรัพยากรของบริษัทจะเป็นไปอย่างสิ้นเปลือง และเป็นการสูญเสียมูลค่าที่สามารถสร้างให้สังคมโดยรวม ในการคำนวณ EVA มี 2 ส่วนที่แตกต่างจากการคำนวณกำไรทางบัญชี เนื่องจากการคำนวณกำไรทางบัญชีไม่ได้คำนึงถึง ได้แก่ 1.ค่าเสียโอกาสของผู้ถือหุ้นตามความเสี่ยง 2.การปรับปรุงยอดกำไร/ขาดทุนทาง สรุปได้ว่ามูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงาน กระบวนการ EVA โดยทั่วไปแล้วจะเริ่มจาก 1. การคัดเลือกผู้ผลิต/ผู้จำหน่าย 2. ติดต่อขอใบเสนอราคา 3. ขออนุมัติในการสั่งซื้อ 4. ออกใบสั่งซื้อหรือให้ผู้ผลิตจำหน่าย 5. ระบบจำนวนและกำหนดระยะเวลาในการส่งมอบ 6. การจัดส่งสินค้า 7. การออกใบเรียกเก็บเงิน 8. การชำระค่าสินค้าและบริการ สรุป กิจกรรมด้าน EVA สามารถช่วยในการให้ท่านจัดการรายชื่อผู้ขาย ลดต้นทุน พัฒนาการลื่นไหลของข้อมูล และยังจัดกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งในระบบการดำเนินการ และใช้งานระบบ EVA นั้น ท่านเตรียมพร้องในการจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรของทานได้ เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ PART เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแผนของหน่วยงานกับความสอดคล้องตามยุทศาสตร์ชาติ และเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์-ผลผลิต-กิจกรรม-งบประมาณ อย่างเป็นระบบ รวมทั้งเป็นการประเมินผลเพื่อการปรับแผนการปฏิบัติในอันที่จะสามารถรองรับกับระบบงบประมาณมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ SPBB ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางการปฏิรูประบบราชการของไปไทยในปัจจุบัน เครื่องมือวัด PART มีอยู่ 5ชุด ด้วยกันคือ 1. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 2. การวางแผนกลยุทธ์ 3. การเชี่ยมโยงงบประมาณกัลป์ปบผลผลิต 4. การบริหารจัดการหน่วยส่งผลผลิต 5. การประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ สรุป เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ PART ก็คือเครื่องมือที่ วัดผลกระประเมินเครื่องมือที่กล่าวมานี้ทั้งหมด เป็นการวัดคุณภาพของการวางแผนและการดำเนินการต่างๆ
0
0
อภิปรายระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
PPBS จะเน้นการวิเคราะห์ ซึ่งมีเทคนิคการวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ ได้แก่ System analysis, Zero base budget analysis, Quantitative analysis, Qualitative analysis, Marginal analysis และ Cost effectiveness หรือ Cost - benefit analysis การเสนอของบประมาณต้องจัดทำเอกสาร 3 ชุด คือ 1. Program Memorandum ( PM ) เป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นโครงสร้างของสายงาน ความสัมพันธ์ของแผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์ ผลงาน และผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 2. Program Financial Plan ( PFP ) เป็นแผนการใช้จ่ายของโครงการที่ต้องการเงิน- งบประมาณในระยะยาว เพื่อเป็นหลักประกันว่าโครงการจะดำเนินต่อไปได้ในปี ต่อ ๆ ไป 3. Special Study ( SS ) เป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์โครงการและ ทางเลือกโครงการต่าง ๆ แนวคิดของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 1. รัฐบาลสมารถใช้วิธีการและกระบวนการงบประมาณให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดผลสำเร็จตามนโยบาย และให้เห็นผลที่ประชาชนได้รับจากรัฐบาล 2. มุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยคำนึงถึงความโปร่งใส 3. มอบความคล่องตัวในการจัดทำและบริหารงบประมาณให้กับผู้ปฏิบัติ (Devolution) ในขณะเดียวกันหน่วยปฏิบัติจะต้องแสดงถึงความรับผิดชอบ (Accountobility) จากการนำงบประมาณไปใช้ให้เกิดผลตามยุทธศาสตร์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยผ่านระบบตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและผลทางการเงินที่รวดเร็ว ทันสมัย กระบวนการงบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 3 ภาคคือ 1. ภาคการจัดทำงบประมาณ 2. ภาคการบริหารงบประมาณ 3. ภาคการติดตามประเมินผล การวางแผนงบประมาณ การที่จะให้หน่วยงานมีอิสระในการบริหารในขั้นต้นหน่วยงานจะต้องมีการวางแผนที่ดี และสามารถทำให้รัฐบาลมองเห็นภาพรวมของผลิตผล/กิจกรรมที่จะต้องจัดเตรียมงบประมาณให้ ตามต้นทุนที่ประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระบวนการการวางแผนงบประมาณที่จะต้องดำเนินการคือ 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ 2. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 3. มีเกณฑ์จัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานปฏิบัติอย่างโปร่งใส สรุป ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ (Strategy Performance Based Budgeting - SPBB) นี้เป็นการวางแผนที่ใช้กันมากในภาคของรัฐบาลหรือตามหน่วยงานต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการวางแผนเรื่องงบประมาณ ซึ่งจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับวิสัยทัสน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และระบบการทำงานที่ชัดเจน ซึ่งจะมีผลต่อการทำตามแผนและการติดตามผลแผนการจัดสรรงบประมาณต่างๆ การคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม (Activity Base Costing: ABC) คือกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการนั้นโดยปกติสมมุติฐานที่ตั้งไว้ก็คือเราจะมีสินค้าและบริการที่ดี ส่งมอบทันเวลาและสินค้าและบริการต้องเป็นที่พอใจของผู้บริโภคและกิจการจะมีกำไรจากการขายสินค้าหรือบริการนั้นแต่ในโลกแห่งความเป็นจริงมักไม่เป็นเช่นนั้น ดังนั้นจึงจำเป็นที่ต้องหาวิธีการที่จะทำให้สามารถคำนวณหาต้นทุนที่แท้จริงของสินค้าได้โดยใช้วิธีการ Activity Base Costing หรือ การคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม ซึ่งแต่เดิม ณ. การคิดมูลค่าที่ บัญชีแยกประเภทอาจให้ความสนใจน้อยเกี่ยวกับ วิธีการเฉลี่ยค่าต้นทุน โดยอาจเป็นการตัดสินมูลค่านั้นๆ จากแผนกบัญชีเป็นหลัก ซึ่งอาจมีผลทำให้ ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้น ถูกแบ่งเฉลี่ยไปให้แต่ละฝ่ายหรือผลิตภัณฑ์ ไม่ถูกต้องเพียงพอ และในที่สุด ผลรวม ที่บัญชีแยกประเภทอาจจะไม่ตรง ถ้ามองบนพื้นฐานของ ABC ทั้งนี้มิได้หมายความว่าทุกอย่างที่ไม่ได้ทำแบบ ABCนั้นผิด เมื่อไหร่จึงจำเป็นจะต้อง นำการคำนวณต้นทุนแบบ ABC มาใช้ 1. เมื่อพบว่าค่าใช้จ่ายโรงงานสูงผิดปกติ 2. เมื่อมีการผลิตหลายๆ ผลิตภัณฑ์ 3. เมื่อรู้สึกไม่มั่นใจในตัวเลขต้นทุนของแต่ละผลิตภัณฑ์ 4. เมื่อมีการแข่งขันสูง ประโยชน์ของการคิดต้นทุนของการผลิตภัณฑ์แบ่งแยกตามกิจกรรม 1. ช่วยให้เราจะชี้ชัดลงไปได้ว่าสินค้าใดทำกำไรหรือสินค้าใดทำให้ขาดทุน 2.สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเปรียบเทียบว่ากิจกรรมนั้นๆควรจะทำเองหรือจ้างบริการภายนอกทำจะคุ้มกว่ากัน 3. สามารถใช้ผลของมันมาพิจารณาในการลดต้นทุนได้ 4. ผลที่ได้มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในภาวะที่มีการแข่งขันสูง สรุป ทำไมถึงนำABC จึงเข้ามาใช้ในองค์องทางด้านการผลิตมากที่สุด องค์กรนี้มีการผลิตที่ซับซ้อนหรือไม่ผลิตภัณฑ์มีจำนวนเพียงพอมีความหลากหลาย มีการแนะนำสินค้าออกสู่ตลาด มีข้อมูลองค์กรที่สามารถช่วยตัดสินใจในการพัฒนาองค์กรได้ ถือเป็นการวางแผนในการพัฒนาในตัวของสินค้าเพื่อที่จะออกสู่ตลาดและการวางแผนในเรื่องของงบประมาณในการบริหารต่างๆ การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework: MTEF) ระดับของการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางมี 2 ระดับได้แก่ 1. กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับประเทศ (Top-down MTEF) การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับประเทศเป็นการกำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายของประเทศระยะเวลา 4 ปี ซึ่งพิจารณาจากกรอบเศรษฐกิจ และการคลังมหภาค 2. กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางระดับกระทรวง /หน่วยงาน (Bottom-up MTEF) การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในระดับกระทรวง / หน่วยงาน เป็นการจัดทำวงเงินงบประมาณในระดับกระทรวง และหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวง ระยะเวลา 4 ปี โดยในการดำเนินการจะต้องจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ เป้าหมายผลผลิต ผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายผลผลิต เพื่อเป็นกรอบในการประมาณการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล หลักการในการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในระดับกระทรวง /หน่วยงาน 1. การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 3 ปี ซึ่งจะแสดงเฉพาะภาพรวมของภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณที่รัฐบาลกำหนดของปีที่จัดทำงบประมาณ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ งาน/โครงการ 2. การวางแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการต่อเนื่องกันไป (Rolling Plan) ประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าของปีที่ 1 จะนำมาใช้เป็นฐานงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีต่อไป 3. ในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางในปีถัดไปหรือปีที่ 2 อาจจะต้องมีการทบทวนปรับตัวเลขประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (Rolling Plan) โดยประเด็นการทบทวนหลัก ๆ ได้แก่ 3.1 ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ เช่น อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตลอดจนระดับราคาที่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ จะต้องใช้ตัวเลขที่หน่วยงานกลาง 3.2 ยุทธศาสตร์หรือนโยบายใหม่ของรัฐบาล 3.3 ผลการดำเนินงาน และรายงานการเงินของส่วนราชการ สรุปได้ว่า เป็นพื้นฐานของการจัดทำงบประมาณรายจ่ายในแต่ละปี โดยนำแผนที่กำหนดไว้เดิมมาพิจารณาต่อเนื่อง คือ ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าของปีที่ 1 จะนำมาใช้เป็นฐานในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีต่อไป มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ Economic Value Added: EVA EVA สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ถือหุ้นมากที่สุดเป็นการนำทรัพยากรไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าได้สูงสุด หากไม่มุ่งเน้นที่มูลค่าผู้ถือหุ้น การใช้ทรัพยากรของบริษัทจะเป็นไปอย่างสิ้นเปลือง และเป็นการสูญเสียมูลค่าที่สามารถสร้างให้สังคมโดยรวม ในการคำนวณ EVA มี 2 ส่วนที่แตกต่างจากการคำนวณกำไรทางบัญชี เนื่องจากการคำนวณกำไรทางบัญชีไม่ได้คำนึงถึง ได้แก่ 1.ค่าเสียโอกาสของผู้ถือหุ้นตามความเสี่ยง 2.การปรับปรุงยอดกำไร/ขาดทุนทาง สรุปได้ว่ามูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงาน กระบวนการ EVA โดยทั่วไปแล้วจะเริ่มจาก 1. การคัดเลือกผู้ผลิต/ผู้จำหน่าย 2. ติดต่อขอใบเสนอราคา 3. ขออนุมัติในการสั่งซื้อ 4. ออกใบสั่งซื้อหรือให้ผู้ผลิตจำหน่าย 5. ระบบจำนวนและกำหนดระยะเวลาในการส่งมอบ 6. การจัดส่งสินค้า 7. การออกใบเรียกเก็บเงิน 8. การชำระค่าสินค้าและบริการ สรุป กิจกรรมด้าน EVA สามารถช่วยในการให้ท่านจัดการรายชื่อผู้ขาย ลดต้นทุน พัฒนาการลื่นไหลของข้อมูล และยังจัดกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งในระบบการดำเนินการ และใช้งานระบบ EVA นั้น ท่านเตรียมพร้องในการจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรของทานได้ เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ PART เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแผนของหน่วยงานกับความสอดคล้องตามยุทศาสตร์ชาติ และเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์-ผลผลิต-กิจกรรม-งบประมาณ อย่างเป็นระบบ รวมทั้งเป็นการประเมินผลเพื่อการปรับแผนการปฏิบัติในอันที่จะสามารถรองรับกับระบบงบประมาณมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ SPBB ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางการปฏิรูประบบราชการของไปไทยในปัจจุบัน เครื่องมือวัด PART มีอยู่ 5ชุด ด้วยกันคือ 1. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 2. การวางแผนกลยุทธ์ 3. การเชี่ยมโยงงบประมาณกัลป์ปบผลผลิต 4. การบริหารจัดการหน่วยส่งผลผลิต 5. การประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ สรุป เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ PART ก็คือเครื่องมือที่ วัดผลกระประเมินเครื่องมือที่กล่าวมานี้ทั้งหมด เป็นการวัดคุณภาพของการวางแผนและการดำเนินการต่างๆ
0
0
อภิปรายระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
วิชาการบริหารการคลังและงบประมาณ (POS3402) งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ คือ การจัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของรัฐบาลให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้และเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง หลักการสำคัญของระบบงบประมาณแบบใหม่คือ การจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมสอดคล้องกับผลงานของหน่วยงานภาครัฐในการนำส่งผลสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในแต่ล่ะปีงบประมาณ ผลสำเร็จตามสุทธผศาสตร์ของรัฐบาลในแต่ล่ะปีงบประมาณซึ่งสามารถแสดงความรับผิดชอบของฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องออกเป็น 3 ระดับดังนี้ 1. ระดับชาติ หรือระดับรัฐบาล โดยมีความรับผิดชอบต่อความสำเร็จของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 2. ระดับกระทรวง หรือระดับความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของกระทรวง โดยมีรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบต่อเป้าหมายสำเร็จที่เรียกว่าเป้าหมายการให้บริการสาธารณะ 3. ระดับกรมหรือระดับหน่วยงานปฏิบัติ โดยมีหัวหน้าหน่วยงานรับปิดชอบต่อความสำเร็จของผลผลิตที่หน่วยงานนั้นรับผิดชอบในการดำเนินงาน หลักสำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 1. รัฐบาลสามารถใช้วิธีการ และกระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดผลสำเร็จตามนโยบาย 2. การมุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ คำนึงถึงความโปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. หน่วยงานปฏิบัติมีความคล่องตัวในการจัดทำและบริหารงบประมาณ 4. สามารถคาดการณ์การใช้จ่ายล่วงหน้าได้ 5. ใช้นโยบายเป็นตัวนำและจัดลำดับความสพคัญของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
0
0
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ 1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ 2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ” 2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ” 3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ” ความเห็นในแนวทางแก้ไข ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
0
0
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์และความเห็นในแนวทางแก้ไข
In General Discussions
1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม
29 มี.ค. 2565
ปัญหาของการดำเนินงานตามแผนงบประมาณแบบเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 1.ด้านนโยบายการปฏิบัติงานผู้บริหารระดับสูงมีกำหนดนโยบายเร่งด่วนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณทำไม่ทันภายกำหนดเวลา ทำให้การดำเนินงานตามนโยบายขาดความต่อเนื่องขาดความชัดเจน แน่นอน บุคลากรเกิดความสับสนในวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ และพบว่านโยบายของผู้บริหาร และประเมินผลงานการติดตามการบริหารงบประมาณของทุกส่วนราชการโดยการยึดหลักการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสมัยฤทธิ์โดยมีการมอบหมายและติดตามผลการใช้จ่าย งบประมาณอย่างชัดเจน โดยให้ส่วนราชการจดการทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ จึงทาให้การปฏิบัติงานดำเนินการอย่างเชื่องช้า โดยอธิบายว่า “ นโยบายผู้บริหารมีผลกระทบ 2 ประเด็น คือ 1. การเบิกจ่ายอาจเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากบางรายการ อาจจะต้องรอการตัดสินใจซึ่งชัดเจนจากผู้บริหารก่อนดำเนินการ 2. นโยบายเพิ่มเติมและเร่งด่วน ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องมี ภารกิจนอกเหนือจากงานประจำปกติ จนส่งผลให้การเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้ ” 2.ด้านบุคลากรภายในหน่วยงานการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ผู้ปฏิบัติงานต่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อสั่งการ และแนวทางปฏิบัติ เนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ทำให้บุคลากรยังขาดความรู้ ความเชียวชาญในการดำเนินงานที่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาคนอบรมไม่ได้ทำงาน ทำงานไม่ได้อบรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขาดประสบการณ์ในการทำงานไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยอธิบายว่า “ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ” 3.ด้านระเบียบและแนวทางการปฏิบัติลักษณะของโครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นโครงการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดำเนินการจำนวนวงเงินสูงและมีเงื่อนไขด้านระยะเวลา มีคุณลักษณะเฉพาะที่มีรายละเอียดมาก เนื่องจากเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้ระยะเวลามากในการกำหนดขอบเขตงาน การจัดหา การดำเนินการตามสัญญา ตลอดจนการส่งมอบและตรวจรับ ในระยะเวลานาน ซึ่งโครงการส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวที่ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากเกินไป โดยอธิบายว่า “ งบประมาณในแต่ละโครงการมีจำนวน วงเงินสูงและมีระยะเวลาในการดำเนินงานมากกว่า1ปีทำให้การเบิกจ่ายเงินไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ มีผลทำให้อัตราการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ” ความเห็นในแนวทางแก้ไข ผู้กำหนดนโยบายในการจะทำควรศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไข ระยะเวลา วงเงิน โครงการในแต่ละโครงการว่าควรผลักดันหรือชะลอ เพื่อให้เป็นไปตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ครั้งแรก และส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยมีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ เพื่อให้รอบรู้ในทุกๆด้าน ไม่ใช่ว่าจะต้องเป็นคนที่ทำประจำก็ตาม เพื่อลดปัญหารการขาดประสบการณ์ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้แก่องค์กรอีกทางหนึ่งด้วย
0
0

1186 รัฐพงษ์ บุญธรรม

ขั้นตอนดำเนินการอื่นๆ
bottom of page