คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
ประเทศไทยยุค 4.0 หรือ ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่เข้ามาบริหารประเทศบนวิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ที่มีภารกิจสำคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศให้เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆที่เปลี่ยนแปลงอย่างเร็ว รุนแรงในศตวรรษที่ 21 ได้
“ประเทศไทย 4.0” เป็นความมุ่งมั่นของนายกรัฐมนตรี ที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ“เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์”ไปสู่สินค้าเชิง“นวัตกรรม” .เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมและเปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้นดังนั้น“ประเทศไทย4.0”จึงควรมีการเปลี่ยนวิธีการทำที่มีลักษณะสำคัญ คือ เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming)โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur)เปลี่ยนจากTraditional SMEsหรือSMEsที่มีอยู่และรัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็นSmart EnterprisesและStartupsบริษัทเกิดใหม่ที่มีศักยภาพสูง เปลี่ยนจากTraditional Servicesซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่ High Value Servicesและเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง
ในการศึกษาทางเศรษฐกิจของภาครัฐ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นกระบวนการที่ความกินอยู่ดีทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประเทศ ภูมิภาค ชุมชนท้องถิ่นหรือบุคคลหนึ่งพัฒนาขึ้นตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ คำนี้ใช้บ่อยในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ 21 แต่มโนทัศน์ดังกล่าวมีอยู่ในประเทศตะวันตกนานกว่านั้น บางทีใช้คำว่า "ทำให้ทันสมัย" (Modernization), "ทำให้เป็นตะวันตก" (Westernization) และ "ทำให้เป็นอุตสาหกรรม" (industrialization) เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
ในการศึกษาทางเศรษฐกิจของภาครัฐ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นกระบวนการที่ความกินอยู่ดีทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประเทศ ภูมิภาค ชุมชนท้องถิ่นหรือบุคคลหนึ่งพัฒนาขึ้นตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ คำนี้ใช้บ่อยในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ 21 แต่มโนทัศน์ดังกล่าวมีอยู่ในประเทศตะวันตกนานกว่านั้น บางทีใช้คำว่า "ทำให้ทันสมัย" (Modernization), "ทำให้เป็นตะวันตก" (Westernization) และ "ทำให้เป็นอุตสาหกรรม" (industrialization) เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
ในการศึกษาทางเศรษฐกิจของภาครัฐ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นกระบวนการที่ความกินอยู่ดีทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประเทศ ภูมิภาค ชุมชนท้องถิ่นหรือบุคคลหนึ่งพัฒนาขึ้นตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ คำนี้ใช้บ่อยในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ 21 แต่มโนทัศน์ดังกล่าวมีอยู่ในประเทศตะวันตกนานกว่านั้น บางทีใช้คำว่า "ทำให้ทันสมัย" (Modernization), "ทำให้เป็นตะวันตก" (Westernization) และ "ทำให้เป็นอุตสาหกรรม" (industrialization) เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
คำว่าการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการออกนโยบายที่มุ่งพัฒนาความกินอยู่ดีของประชาน ส่วนการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปรากฏการณ์ของผลิตภาพของตลาดและการเพิ่มขึ้นของ GDP นักเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นแง่มุมการเติบโตและเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนนักวิจัยการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสนใจการพัฒนาสังคม
ระบบราชการในอนาคตยังคงปัญหาเดิมๆที่เคยมีมา ที่เคยมีการปฏิรูปมาครั้งแล้วครั้งเล่าแต่ก็ไม่สำเร็จ ปัญหาเหล่านั้นมีดังนี้
1. ปัญหาโครงสร้าง ระบบราชการไทยมีขนาดใหญ่ โครงสร้างซ้ำซ้อนกันทั้งในด้านภารกิจ บทบาท อำนาจหน้าที่ ทำให้ไม่คล่องตัว ไม่สามารถตอบสนองและรองรับกับความสลับซับซ้อนของการบริหารราชการแผ่นดิน ในปัจจุบันและอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความล่าช้าในการทำงาน และไม่ทันต่อความต้องการ ของประชาชน
2. ปัญหาการบริหารงาน การบริหารงานของระบบราชการไม่มีความโปร่งใส บริสุทธิ์ยุติธรรม และตรวจสอบได้โดยมี การแทรกแซงจากฝ่ายการเมืองที่กำหนดนโยบาย จึงทำให้ส่วนราชการต่าง ๆ ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลการดำเนินงานในแต่ละด้านไว้เพื่อใช้ในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานให้ดียิ่งขึ้น
3. ปัญหาระบบบริหารงานบุคคลและบุคลากร ระบบบริหารงานบุคคลไม่มีความเท่าเทียมกัน ทำให้ข้าราชการมีความก้าวหน้าในการรับราชการ แตกต่างกัน ใช้ระบบอุปถัมภ์ในการทำงาน โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้มีวามสามารถได้เข้ามาทำงาน และไม่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น
4. ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ การทุจริตและประพฤติมิชอบ นับว่า เนื่องจากลักษณะการทำงานของระบบราชการเป็นแบบผูกขาด และข้าราชการมีพฤติกรรมการทำงาน ช่วยพวกพ้องของตน เปิดโอกาสให้มีอภิสิทธิชนและเป็นช่องทางให้กระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบ จนกลายเป็นปัญหาใหญ่ที่มีต่อระบบราชการและข้าราชการ
นางสาวณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ 63423471025
ความหมายของการบริหารโครงการพัฒนา
-การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับภารกิจ หรืองานที่เพิ่มมากขึ้นทั้งทางด้าน ขนาด ความสลับซับซ้อน และความจำเป็นอื่นๆ ที่ออกมาในรูปของโครงการเฉพาะที่ขนานไปกับการ บริหารกิจการประจำวันอื่นๆ การบริหารโครงการพัฒนาดังกล่าวนี้ประกอบด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ การจัดเตรียมการในเรื่องการจัดการ ซึ่งหมายถึง การเตรียมการประสานงานโดย การจัดองค์การไว้รองรับ และการจัดองค์การหมายถึง การแบ่งแยกหน้าที่กันทำให้เป็นสัดส่วนแต่ใน ขณะเดียวกันก็ต้องมีการสอดประสานระหว่างหน้าที่ที่แบ่งแยกไปแล้วให้กลมกลืนกันด้วยและ การจัดเตรียมเทคนิคการบริหาร อันได้แก่ การกำหนดประเภทของงาน การสำรวจ ความต้องการทรัพยากรที่จะใช้ การกำหนดตารางเวลาการปฏิบัติงาน การกำหนดคุณภาพของสินค้า และบริการที่จะผลิต การโฆษณาสินค้าและบริการ และการวัดผลโครงการพัฒนา
-การบริหารโครงการ หมายถึง การเตรียมตัวและการลงมือดำเนินงานที่กำหนดไว้อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
-การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การดำเนินงานที่นอกเหนือไปจากงานประจำวันที่ทำเป็น กิจวัตร การบริหารโครงการพัฒนา จะมีลักษณะที่ไม่ซ้ำซาก เป็นหนึ่งเดียวและตามปกติจะมี วัตถุประสงค์เกี่ยวกับผลงาน และมีระยะเวลา การเงิน และเทคนิคที่แยกออกมาต่างหาก
-การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การกำหนดและการนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ และมีการ ติดตามประเมินผลด้วย และโครงการพัฒนา หมายถึง “กิจกรรมพื้นฐานที่ กำหนดขึ้นเพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยที่กิจกรรมพื้นฐานนี้มีระยะเวลากำหนดไว้อย่างแน่นอน
นางสาวณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ 63423471025
ความสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประชาชน มีความต้องการให้ปรับปรุงสภาพทางเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อที่จะให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น มีฐานะและความเป็นอยู่ต่างๆ เท่าเทียมกับประเทศที่ พัฒนาแล้ว จึงเป็นหน้าที่อันสำคัญของประเทศที่กำลังพัฒนาที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อ ผลประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งพอที่จะสรุปได้ดังนี้ คือ
1. การพัฒนาเศรษฐกิจช่วยปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพให้สูงขึ้นโดยปกติ ประเทศที่กำลังพัฒนาจะมีรายได้ต่อบุคคลต่ำ มีผลผลิตและรายได้ต่อบุคคลเพิ่มขึ้นในอัตราต่ำและช้า มากผิดกับประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีรายได้ต่อบุคคลสูงและมีอัตราการเพิ่มของรายได้ต่อบุคคลในแต่ละปี ถ้าประเทศที่กำลังพัฒนาปล่อยให้ประเทศเป็นไปตามยถากรรมเช่นนี้โดยไม่มีการพัฒนาประเทศ ความแตกต่างของรายได้ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อสภาพทางการเงิน การค้าระหว่างประเทศ และอื่น ๆ มากขึ้น ในทำนองเดียวกันระหว่างประชาชนต่างพวกต่างภูมิภาคในประเทศเดียวกัน เมื่อเศรษฐกิจของประเทศอยู่ในลักษณะคงที่ ถ้าประชากรคนใดคนหนึ่งมีฐานะความ เป็นอยู่สูงขึ้น ประชาชนคนอื่น ๆ ก็จะต้องมีฐานะความเป็นยู่ลดลง และถ้าไม่แก้ไขก็จะเข้าลักษณะ ที่ว่า “คนรวยยิ่งรวยมากขึ้น คนจนยิ่งจนลง” ในที่สุดความยากเค้นจะกลายเป็นนความเคียดแค้นใน ระหว่างมวลชนในสังคมเดียวกัน ดังนั้นประเทศที่กำลังพัฒนาจึงพยายามที่จะให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อจะทำให้บุคคลต่าง ๆ ในประเทศมีรายได้สูงขึ้น เมื่อมีรายได้สูงขึ้นมาตรฐานความเป็นอยู่ของ ประชาชนก็จะสูงขึ้นและช่วยไม่ให้เกิดการข้อแย้งกันขึ้นระหว่างคนทุกชั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนจนและ คนรวย
2. การพัฒนาเศรษฐกิจจะช่วยแก้ปัญหาการแทรกแซงสิทธิการเมือง ดังที่ทราบกันอยู่ ว่า ในปัจจุบันนี้โลกได้แบ่งสิทธิการเมืองและเศรษฐกิจออกเป็น 2 ฝ่าย คือฝ่ายโลกเสรีและฝ่ายตรงกันข้ามความด้อยพัฒนาหรือความยากจนอย่างสาหัสจะเป็นมูลเหตุสำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้ประเทศด้อย พัฒนาในโลกเสรีกลับกลายไปสู่สิทธิตรงกันข้าม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศจึงเป็น มาตรการ ที่สำคัญที่จะป้องกันสิทธิตรงกันข้ามของโลกเสรีไว้ได้
3. การพัฒนาเศรษฐกิจช่วยประเทศชาติให้มีความสามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งทาง เศรษฐกิจและการเมือง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจจะทำให้ประเทศชาติมีเงินทุนไปใช้จ่ายทำนุบำรุง ประเทศได้หลายด้าน ทั้งทางด้านการศึกษา การสาธารณูปโภค และการป้องกันประเทศ ถ้าประเทศ ใดมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ประเทศนั้นจะสามารถผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคได้มากมาย สำหรับใช้ ภายในประเทศและยังส่งเป็นสินค้าออก ในโอกาสเดียวกันก็มีเงินทองมาใช้ จ่ายในการป้องกัน ประเทศชาติอีกด้วย
4. การพัฒนาเศรษฐกิจจะช่วยเหลือเศรษฐกิจของโลก โดยปกติประเทศที่พัฒนา พยายามที่จะช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนา เช่น การให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุน เครื่องอุปกรณ์ เครื่องมือ การศึกษา เทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ เป็นต้น การให้ความช่วยเหลือนี้เป็นผลให้ ประเทศที่กำลังพัฒนามีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม สามารถที่จะช่วยเหลือบุคคลโดยเฉลี่ย ของโลกมีมูลค่าสูงขึ้นและเมื่อประชาชนในประเทศที่กำลังพัฒนามีรายได้สูงขึ้น ความต้องการในสินค้า และบริการต่าง ๆ จากต่างประเทศจะเพิ่มสูงขึ้นประเทศเหล่านี้จะสั่งสินค้าต่าง ๆ จากต่างประเทศได้มากขึ้น ทำให้เกิดการขยายตัวทางด้านการค้าของโลก ประเทศพัฒนาก็จะขยายสินค้าได้เพิ่มขึ้นอันจะช่วย ให้เกิดประโยชน์ทั้งประเทศพัฒนาและประเทศที่กำลังพัฒนาในเวลาเดียวกัน
นางสาวณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ 63423471025
การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง ความพยายามที่จะให้มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการวางแผนพัฒนาเพื่อให้ประชาชนมีรายได้ต่อหัวสูงขึ้น นอกจากนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจยังอาจรวมถึง การแบ่งปันความสุขและความทุกข์ที่เกิดจากผลพวงของการพัฒนาให้เท่าเทียมกัน และ เปิดโอกาสให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองในกระบวนการตัดสินใจ กำหนดชะตากรรมของประเทศชาติ พร้อมกับ ส่งเสริมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชน และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เฉพาะอย่างยิ่งในส่วน ที่เกี่ยวกับการลดหรือขจัดความยากจน ความไม่รู้ ความเจ็บไข้ได้ป่วยและความหิวโหยให้น้อยลงหรือ หมดไป
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง 63423471141
การบริหารระบบราชการในอนาคต
หัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมหรือประเทศก็ขึ้นอยู่กับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐเป็นสำคัญหากองค์กรภาครัฐมีความอ่อนแอทั้งในเชิงโครงสร้าง ระบบอุปถัมภ์นิยม ขาดเทคนิคในเชิงการบริหารจัดการองค์กรการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลที่เป็นฐานรองอำนาจการทุจริตคอร์รัปชั่นในวงราชการไทย ผู้บริหาร องค์กรที่ยึดเอาความคิดความเห็นของตนเป็นใหญ่เป็นต้น จะทำให้ประเทศด้อยการพัฒนาลงไปเรื่อย ๆ เพราะองค์กรภาครัฐเป็นเครื่องมือที่บ่งบอกว่าสังคมหรือประเทศจะก้าวหน้าหรือถอยหลังซึ่งโลกยุคใหม่มีเทคนิคมากมายที่สามารถนำไปใช้ในการบริหารองค์ภาครัฐให้มีคุณภาพผนวกกับบริบททางสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะโลกยุค 5G ที่ก่อให้การปรับตัวอย่างรุนแรงแบบก้าวกระโดดทั้งในด้านวิทยาการสมัยใหม่ ระบบการ เชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ ทั้งระบบการตัดสินใจในเชิงการบริหารองค์กรภาครัฐ สามารถก่อให้เกิดความรวดเร็วในการ แก้ไขปัญหาของประชาชนบนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐด้วยเทคนิค SUPER ได้แก่ 1.Studious หมายถึง ความรอบคอบ 2. Underlie หมายถึง การรองรับ 3. Precipitate หมายถึง การเร่งรัด 4. Expeditious หมายถึง ความรวดเร็ว และ 5. Responsible หมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคม
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง 63423471141
เน้นการบริหารโครงการ
เนื้หาของการบริหารโครงการพัฒนาพอแบ่งออกได้คร่าวๆเป็ น 5 ส่วนด้วยกันคือ
1.ประเภทของโครงการพัฒนา
2.สภาพแวดล้อมของการบริหารโครงการพัฒนา
3.การเตรียมและปรับโครงการพัฒนา
4.การนำโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ
5.การประเมินผลโครงการพัฒนาและผลกระทบของโครงการพัฒนาการวางแผนระดับชาติ กองการศึกษาและเผยแพร่การพัฒนาสำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ชี้ให้เห็นรายละเอียดของการวางแผนระดับชาติรวมถึงกิจกรรมที่ทำ ผู้รับผิดชอบ และวิธีการวางแผนแนวทางการบริหารโครงการพัฒนามักจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ แต่โดยส่วนร่วมแล้วการบริหารโครงการพัฒนามักจะเน้นในเรื่องต่างที่เป็นองค์ประกอบของการพัฒนาบริหาร การพัฒนา คือ การพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การพัฒนาการเมือง การพัฒนาชนบทและแม้แต่การพัฒนาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
นางสาวสุปรียา หมื่นทอง 63423471141
การบริหารการพัฒนาที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศด้อยพัฒนาหรือประเทศโลกที่ 3 ได้แก่ ประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำจะมีลักษณะดังนี ้
1.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตต่ำ
2.มีความสามารถในการจัดหาผลิตผลเพื่อการบริโภค
3.เป็นผู้ประกอบการผลิตวัตถุดิบเสียเป็นส่วนใหญ่
4.มีแรงงานส่วนใหญ่อยู่ภาคเกษตรมากกว่าอุตสาหกรรมประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศโลกที่สองจะมีลักษณะดังนี้
1.การขาดสถาบันพื้นเมืองและบุคคลากรที่มีความรู้ความสารถในการแก้ปัญหาของประชาชน 2.หน่วยงานปกครองการบริหารมีความเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งขาดความต่อเนื่องและบางครั้งขาดความชอบธรรม
3.ความพยายามที่จะจัดผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงเข้าไปแทนที่เจ้าของประเทศผู้เคยปกครองก่อให้เกิดช่องว่างในการปกครองการบริหารประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศโลกที่1เป็นประเทศที่มีค่าเฉลี่ยต่อหัวสูงแล้วยังมีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมีอายุขัยเฉลี่ยและอัตราการอ่านออกเขียนได้สูงไปด้วยความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นผลพวงของปัจจัยหลายประการ กล่าวคือ
1.การงานแผนนโยบายเศรษฐกิจและการนำเอานโยบายเศรษฐกิจไปปฏิบัติโดยผ่านการ บริหารโครงการการพัฒนาต่างๆซึ่งพิจารณาได้จากทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และนโยบายในแต่ละยุคแต่ละสมัย
2.ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นผลพวงมาจากการค้าระหว่างประเทศในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ
3. ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นผลพวงมาจากความช่วยเหลือจากต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งความช่วยเหลือ ในรูปให้เปล่า เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ การให้ความช่วยเหลือในเรื่อง ของผู้เชี่ยวชาญ
นายคณิติน ศิริธีรวัฒนสุข
รหัสนักศึกษา 63423471142
1. การบริหารการพัฒนาที่เน้นเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจมุ่งที่จะเปลี่ยนแปลงหรือแปลงรูปจากการเป็นประเทศที่ด้อยพัฒนา ให้กลายเป็นประเทศที่กำลังพัฒนา และจากการเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาให้กลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
มีลักษณะดังต่อไปนี้
1) ประชาชนมีคุณภาพชีวิตต่ำ และขาดความเสมอภาคในโอกาส
2) มีความสามารถในการจัดหาผลิตผลเพื่อการบริโภค และมีความเป็นอยู่ด้อยกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา
3) เป็นผู้ประกอบการผลิตวัตถุดิบเป็นส่วนใหญ่ ขาดอุตสาหกรรม และการใช้กำลังคนไม่มีประสิทธิภาพ
4) มีแรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคเกษตรมากกว่าภาคอุตสาหกรรมและบริการ
5) มีความไม่สมดุลของการพัฒนาปรากฏให้เห็นในหลายๆ ด้าน
ดังนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจ เน้น 2 เรื่องใหญ่ๆ คือ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการนำเอาผลพวงของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปช่วยลดความทุกข์ยากของคนทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การรัฐบาล
การเน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นผลพวงจากปัจจัยหลายประการกล่าวคือ
การวางนโยบายเศรษฐกิจและการนำนโยบายเศรษฐกิจไปปฏิบัติโดยผ่านทางโครงการพัฒนาต่างๆ
การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นผลพวงจากการค้าระหว่างประเทศ
การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นผลพวงของการพัฒนาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
การเน้นการนำเอาผลพวงของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปช่วยลดความทุกข์ยากของคนทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับความยากจน ความไม่รู้ ความเจ็บป่วย และความหิวโหย ซึ่งมีการนำมาแบ่งปันให้เสมอภาคและเป็นธรรม
2. การบริหารการพัฒนาที่เน้นการบริหารโครงการ
การนำโครงการพัฒนาไปปฏิบัติการนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัตินั้น มีผู้ ให้ ความหมายไว้หลายนัยด้วยกัน ตัวอย่างเช่น การนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติหมายถึง “ การกระทำการแผลแผนออกมาเป็นกิจกรรม และการนำเอากิจกรรมนั้น ๆ มาปฏิบัติทั้งนี้รวมถึงการบันทึก ความก้าวหน้า การเปลี่ยนลำดับความสำคัญก่อนหลังหากมีวิกฤตการณ์เกิดขึ้นและการประสานงานใน บรรดาผู้ที่เกี่ยวข้อง ” จะเห็นได้ว่า คำนิยามนี้มีพื้นฐานอยู่บนข้อสมมติของแนวความคิดทางการบริหาร ที่ว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลกระทบต่อการนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ ซึ่งตามทรรศนะของ แอน เอ็ม. เกอร์แนค (Anne M. Gurnach) และ แชรอน เอส. ฮาร์ตี้ (Sharon S. Harty) เห็นว่า ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ การนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัตินั้นได้แก่ การติดต่อสื่อสาร ทรัพยากร จิตใจ หรือทัศนคติ และ โครงสร้างระบบราชการ
การบริหารโครงการ (Project Management) คือการเริ่มต้น วางแผน ดำเนินการ ตรวจสอบควบคุม และปิดโครงการ ของงานโครงการ ผ่านทางเครื่องมือ ความรู้ ทรัพยากรณ์ และกิจกรรมต่างๆของคนในองค์กร โดยเป้าหมายก็คือการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการภายในระยะเวลาและข้อจำกัดอย่างอื่นที่กำหนดไว้โดยมากแล้ว การบริหารโครงการก็คือการบริหารผลลัพธ์ 3 อย่าง ระหว่าง เวลา ค่าใช้จ่าย และ คุณภาพงานคำว่า ‘โครงการ’ จะมีความหมายแตกต่างกับงานทั่วไปตรงที่ ‘โครงการ’ จะมีเวลากำหนดวันเริ่มต้นและวันจบงานที่แน่นอน และก็ยังมีลักษณะงานที่มีความ ‘แตกต่าง’ ไม่เหมือนกับชนิดงานที่องค์กรปฏิบัติทั่วไปและด้วยการที่ว่า โครงการ นั้นมีลักษณะงานที่พิเศษและชั่วคราว ทำให้การบริหารโครงการประกอบไปด้วยพนักงานและผู้คนที่มักจะไม่ค่อยได้ทำงานด้วยกัน บางครั้งก็อาจจะมาจากคนละแผนก บางครั้งก็อาจจะมาจากคนละองค์กร คนละประเทศ จะเห็นได้ว่าความหมายของคำว่าโครงการและการบริหารโครงการนั้นค่อนข้างกว้าง ทำให้เนื้องานของการบริหารโครงการมีหลากหลาย ตั้งแต่การพัฒนาโปรแกรมซอฟต์แวร์ การรับเหมาก่อสร้าง การพัฒนากระบวนการทำงานในบริษัท การเปิดตลาดใหม่ หรือแม้แต่การร่วมมือกันเพื่อทำโครงการช่วยสังคม แต่ไม่ว่าเนื้อหาของโครงการจะเป็นอย่างไร ความท้าทายหลักของการบริหารโครงการก็คือ การทำให้เป้าหมายบรรลุผลภายในเวลาและค่าใช้จ่ายที่จำกัด ผ่านการบริหารทรัพยากรที่ซับซ้อนอย่าง ‘ปัจจัยมนุษย์’
3.การบริหารระบบราชการในอนาคต
แผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐของไทยเริ่มต้นจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติซึ่งเป็นกรอบการพัฒนาของชาติ ไล่เลียงลงมาถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดินที่เป็นกรอบการทำงานของคณะรัฐมนตรีต่อลงมาถึงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีในทุกส่วนราชการ ไม่ว่าจะเป็นกระทรวง หรือกรม ได้แบ่งย่อยออกเป็นแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่ทุกส่วนในกรม กองและสำนักใช้เป็นกรอบในการกำหนดแผนการปฏิบัติงานปัจจุบันการจัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละหน่วยงานราชการของไทยจะต้องมีแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับกรอบ ทั้ง 3 ด้าน คือ
1. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
2. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีในทุกส่วนราชการ (กระทรวง กรม แบ่งย่อยออกเป็นแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่ทุกส่วนในกรมกองและสำนักใช้เป็นกรอบในการกำหนดแผนการปฏิบัติงาน)
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการพลเรือนที่กำหนดโดยสำนักงาน
น.ส กัลกร อภิชาติวรนันท์ รหัสนักศึกษา 63423471007
- การบริหารระบบราชการในอนาคต
ทุกหน่วยงานหลักทั้งภาครัฐและเอกชนมาพร้อมสรรพ ล้อมวงขับเคลื่อนประเทศ เป้าหมายหลัก ต้องการให้บริการจัดการขับเคลื่อน 5G ทั้งระบบเกิดประสิทธิภาพ ทุกองคาพยพเป็นเอกภาพ เพื่อขับเคลื่อนการทำงานเป็นทีมเวิร์ค แข่งขันให้ทัดเทียมกับนานาชาติ เดินตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 20 ปี
นโยบายและแผนระดับชาติฯดังกล่าว ต้องการปฏิรูปประเทศไทยสู่ “ดิจิทัลไทยแลนด์” ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้เต็มศักยภาพ ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุน มนุษย์
และหนึ่งในเป้าหมายแผนพัฒนา คือ “ปฏิรูปกระบวนทัศน์การทำงาน การให้บริการของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยี การใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล”ระบบ 5G นับเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายติดต่อสื่อสารเชื่อมต่อทุกสรรพสิ่งเข้าหากัน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิต คาดหวังลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะ เป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐที่ควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการ ท างานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของ ประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชน บนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ
น.ส กัลกร อภิชาติวรนันท์ รหัสนักศึกษา 63423471007
-การบริหารโครงการ การพัฒนาพอแบ่งออกได้คร่าวๆได้ 5 ข้อ ด้วยกันคือ
1.ประเภทของโครงการพัฒนา
2.สภาพแวดล้อมของการบริหารโครงการพัฒนา
3.การเตรียมและปรับโครงการพัฒนา
4.การนำโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ
5.การประเมินผลโครงการพัฒนาและผลกระทบของโครงการพัฒนา การวางแผนระดับชาติ กองการศึกษาและเผยแพร่การพัฒนาสำนักงานคณะกรรมการการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ชี้ให้เห็นรายละเอียดของการวางแผนระดับชาติรวมถึง กิจกรรมที่ทำผู้รับผิดชอบ และวิธีการวางแผน
* แนวทางการบริหารโครงการพัฒนามักจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ แต่โดยส่วนร่วม แล้ว การบริหารโครงการพัฒนามักจะเน้นในเรื่องต่าง ที่เป็นองค์ประกอบของการพัฒนาบริหาร การพัฒนา คือ การพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การพัฒนาการเมือง การพัฒนาชนบท และ แม้แต่การพัฒนาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
น.ส กัลกร อภิชาติวรนันท์ รหัสนักศึกษา 63423471007
- การบริหารการพัฒนาที่เน้นเศรษฐกิจ
ประเทศด้อยพัฒนาหรือประเทศโลกที่ 3หมายถึง กำเนิดระหว่างสงครามเย็น นิยามประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ทั้ง นาโต้หรือกลุ่มคอมมิวนิสต์ สหรัฐ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ชาติยุโรปตะวันตกและพันธมิตรเป็นโลกหนึ่งส่วนสหภาพโซเวียต จีน คิวบาและพันธมิตรเป็นโลกที่สอง คำนี้เป็นวิธีจำแนกประเทศในโลกออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ ๆ โดยยึดการแบ่งแยกทางการเมืองและเศรษฐกิจ ได้แก่ ประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำ จะมีลักษณะดังนี้
1.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตต่ำ
2.มีความสามารถในการจัดหาผลิตผลเพื่อการบริโภค
3.เป็นผู้ประกอบการผลิตวัตถุดิบเสียเป็น ส่วนใหญ่
4.มีแรงงานส่วนใหญ่อยู่ภาคเกษตรมากกว่าอุตสาหกรรมประเทศที่กำลังพัฒนา หรือ ประเทศโลกที่สอง จะมีลักษณะดังนี้
4.1. การขาดสถาบันพื้นเมืองและบุคคลากรที่มีความรู้ความสารถในการแก้ปัญหาของ ประชาชน
4. 2. หน่วยงานปกครองการบริหาร มีความเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งขาดความต่อเนื่อง และ บางครั้งขาดความชอบธรรม
4.3. ความพยายามที่จะจัดผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง เข้าไปแทนที่เจ้าของประเทศผู้ เคยปกครอง ก่อให้เกิดช่องวาในการปกครองการบริหารประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศโลกที่1 เป็นประเทศที่มีค่าเฉลี่ยต่อหัวสูงแล้ว ยังมีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมีอายุขัยเฉลี่ย และอัตราการอ่านออก เขียนได้สูงไปด้วย
Modul 3
นาย อิทธิณัฐ แซมกลาง
การบริหารระบบราชการในอนาคต การบริหารระบบราชการไทยมีการปฏิรูปมาหลายยุคหลายสมัยจนมาถึงปัจจุบันมีแผนการบริหารระบบราชการ4.0เเต่ไม่รู้ว่าจะพัฒนาให้ดีขึ้นหรือถอยหลังลงคลอง เพราะเเนวคิดที่ปฎิรูประบบราชการอย่างต่อเนื่อง เเต่พอออกเเนวคิดระบบการบริหารมาที่ไรฟังดูดีมีความเป็นไปได้เเต่สุดท้ายก็ไม่สามารถเปลื่ยนเเปลงระบบราชการที่มีมายาวนานฝังรากลึกจนเป็นฝุ่นใต้พรมในระบบได้เมื่อเกิดปัญหาก็ไม่ก็สามารถหาผู้รับผิดชอบหรือผู้กระทำผิดได้ จะฟ้องร้องเอาผิดก็เป็นเรื่องที่ลำบากเเละ ทำให้ระบบทำงานล่าช้าทำงานเเบบเช้าชามเย็นชาม ส่วนราชการชั้นสูงก็ไม่ได้ลงมาดูราชการผู้น้อยปฎิบัติงานมีเเต่สั่งการ ถ้าให้อธิบายว่าในอนาคตจะเป็นอย่างไรผมว่าเป็นเเบบเดิมหรือไม่ยุ่งยากกว่าเดิมเพราะด้วยรัฐบาลชุดนี้ เเต่ถ้ามีการปฎิรูประบบราชการก็คงต้องรื้อระบบทุกอย่างออกมาทั้งหมดเเล้วสร้างขึ้นมาใหม่
นายธนาวุฒิ สีหะนาม 63423471004
3. การบริหารระบบราชการในอนาคต
การบริหารองค์กรภาครัฐในโลกอนาคตที่มีความรอบคอบ รองรับ เร่งรัด รวดเร็ว และรับผิดชอบอาจจะ เป็นบทบาทใหม่ขององค์กรภาครัฐท่ีควรให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และ วัฒนธรรมใหม่ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ึนเพื่อการพลิกประเทศไปสู่ความทันสมัยได้มากขึ้นผ่านการ ทำงานด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรภาครัฐและช่วยลดทัศนคติของ ประชาชนในแง่ลบกลายมาเป็นทัศนคติเชิงบวกได้ด้วยองค์ความรู้ท่ีสำคัญที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาของประชาชน บนฐานเทคนิคการบริหารองค์กรภาครัฐ SUPER ได้แก่ Studious ความสามารถขององค์กรภาครัฐท่ีมีการปฏิบัติ ด้วยความรอบคอบที่ไม่ส่งกระทบต่อประชาชนUnderlieองค์กรภาครัฐสามารถสร้างการรองรับการเปลี่ยนและการ ปรับตัวต่อการปฏิบัติให้ทันสมัย Precipitate องค์กรภาครัฐมีการเร่งรัดการตอบสนองต่อความต้องการให้ครอบคลุม Expeditious องค์กรภาครัฐมีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนครอบคลุมและต่อเนื่อง และ Responsible องค์กรภาครัฐสามารถการสร้างมิติความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและ ประชาชนได้ ทั้งหากองค์กรภาครัฐสามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาระบบต่างๆ ด้วยความทันสมัยจะช่วยให้ภาครัฐ สามารถตอบโจทย์ของบทบาทของตนเองได้อย่างแท้จริง
นายธนาวุฒิ สีหะนาม 63423471004
2. เน้นการบริหารโครงการ
ความหมายของการบริหารโครงการพัฒนา
การบริหารโครงการพัฒนานั้นมีผู้ให้ความหมายไว้หลายนัยด้วยกัน
(1) การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับภารกิจ หรืองานที่เพิ่มมากขค้นทั้งทางด้าน
ขนาด ความสลับซับซ้อน และความจำเป็นอื่นๆ ที่ออกมาในรูปของโครงการเฉพาะที่ขนานไปกับการ บริหารกิจการประจำวันอื่นๆการบริหารโครงการพฒันาดังกล่างนี้ประกอบด้วย2ส่วนด้วยกันคือ
(ก) การจัดเตรียมการในเรื่องการจัดการ ซึ่งหมายถึง การเตรียมการประสานงานโดย การจัดองค์การไว้รองรับ และการจัดองค์การหมายถึง การแบ่งแยกหน้าที่กันทำให้เป็นสัดส่วนแต่ใน ขณะเดียวกันก็ต้องมีการสอดประสานระหว่างหน้าที่ที่แบ่งแยกไปแล้วให้กลมกลืนกันด้วยและ
(ข) การจัดเตรียมเทคนิคการบริหาร อันได้แก่ การกำหนดประเภทของงาน การสำรวจ ความต้องการทรัพยากรที่จะใช้ การกำหนดตารางเวลาการปฏิบัติงาน การกำหนดคุณภาพของสินค้า และบริการที่จะผลิตการโฆษณาสินค้าและบริการและการวัดผลโครงการพัฒนา
(2) การบริหารโครงการ หมายถึง การเตรียมตัวและการลงมือดำเนินงานที่กำหนดไว้อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
(3) การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การดำเนินงานที่นอกเหนือไปจากงานประจำวันที่ทำเป็น กิจวัตร การบริหารโครงการพัฒนา จะมีลักษณะที่ไม่ซ้ำซาก เป็นหนึ่งเดียวและตามปกติจะมี วัตถุประสงค์เกี่ยวกับผลงานและมีระยะเวลาการเงินและเทคนิคที่แยกออกมาต่างหาก
(4)การบริหารโครงการพัฒนาหมายถึงการกำหนดและการนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติและมีการ ติดตามประเมินผลด้วย และโครงการพัฒนา หมายถึง “กิจกรรมพื้นฐานที่ กำหนดขึ้นเพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยที่กิจกรรมพื้นฐานนี้มีระยะเวลากำหนดไว้อย่างแนน่อน”
นายธนาวุฒิ สีหะนาม 63423471004
1. การบริหารการพัฒนาที่เน้นเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจหมายถึงความพยายามที่จะให้มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดย การวางแผนพัฒนาเพื่อให้ประชาชนมีรายได้ต่อหัวสูงขึ้น นอกจากนี้การพัฒนาเศรษฐกิจยังอาจรวมถึง การแบ่งปันความสุขและความทุกข์ที่เกิดจากผลพวงของการพัฒนาให้เท่าเทียมกนันและเปิดโอกาสให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองในกระบวนการตัดสินใจกําหนดชะตากรรมของประเทศชาติ
พร้อมกับส่งเสริมศักดิ์ศรีความเป็นมนษุย์ สิทธิมนุษยชน และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน
ที่เกี่ยวกับการลดหรือขจัดความยากจน ความไม่รู้ ความเจ็บไข้ได้ป่วยและความหิวโหยให้น้อยลงหรือ หมดไป
ความสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประชาชนในประเทศที่กําลังพัฒนา มีความต้องการให้ปรับปรุงสภาพทางเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อที่จะให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้นมีฐานะและความเป็นอยู่ต่างๆ เท่าเทียมกับประเทศที่ พัฒนาแล้ว จึงเป็นหน้าที่อันสําคัญของประเทศที่กําลังพัฒนาที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อ ผลประโยชน์ต่างๆ
Modul3
นายอิทธิณัฐ แซมกลาง 63423471284
การบริหารการพัฒนาที่เน้นการบริหารโครงการพัฒนา
ความหมายของการบริหารโครงการพัฒนา
การบริหารโครงการพัฒนานั ้น มีผู้ให้ความหมายไว้หลายนัยด้วยกัน
(1) การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับภารกิจ หรืองานที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านขนาด ความสลับซับซ้อน และความจำเป็นอื่นๆ ที่ออกมาในรูปของโครงการเฉพาะที่ขนานไปกับการบริหารกิจการประจำวันอื่นๆ การบริหารโครงการพัฒนาดังกล่าวนี้ประกอบด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ
(A) การจัดเตรียมการในเรื่องการจัดการ ซึ่งหมายถึง การเตรียมการประสานงานโดย
การจัดองค์การไว้รองรับ และการจัดองค์การหมายถึง การแบ่งแยกหน้าที่กันทำให้เป็นสัดส่วนแต่ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการสอดประสานระหว่างหน้าที่ที่แบ่งแยกไปแล้วให้กลมกลืนกันด้วย
(B) การจัดเตรียมเทคนิคการบริหาร อันได้แก่ การกำาหนดประเภทของงาน การสำรวจ
ความต้องการทรัพยากรที่จะใช้ การกำหนดตารางเวลาการปฏิบัติงาน การกำหนดคุณภาพของสินค้าและบริการที่จะผลิต การโฆษณาสินค้าและบริการ และการวัดผลโครงการพัฒนา
(2) การบริหารโครงการ หมายถึง การเตรียมตัวและการลงมือดำเนินงานที่กำหนดไว้อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
(3) การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การดำเนินงานที่นอกเหนือไปจากงานประจำวันที่ทำเป็นกิจวัตร การบริหารโครงการพัฒนา จะมีลักษณะที่ไม่ซ้ำซาก เป็นหนึ่งเดียวและตามปกติจะมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับผลงาน และมีระยะเวลา การเงิน และเทคนิคที่แยกออกมาต่างหาก
(4) การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การกำหนดและการนำเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ และมีการติดตามประเมินผลด้วย และโครงการพัฒนา หมายถึง “กิจกรรมพื้นฐานที่ กำหนดขึ้นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
โดยที่กิจกรรมพื้นฐานนี้มีระยะเวลากำหนดไว้อย่างแน่นอน
ประเภทของโครงการพัฒนา โครงการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็น หลายประเภท ตาม
มิติต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) โครงการพัฒนาแบ่งตามมิติระดับของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น โครงการพัฒนาระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น
(2) โครงการพัฒนาแบ่งตามระยะเวลาดำเนินงาน เช่น โครงการพัฒนาระยะสั่น โครงการ
พัฒนาระยะกลาง และโครงการพัฒนาระยะยาว
(3) โครงการพัฒนาแบ่งตามมิติพื้นที่ที่ดำเนินงาน เช่น โครงการพัฒนาในเขตเมือง โครงการพัฒนาในเขตชนบท
(4) โครงการพัฒนาแบ่งตามมิติภาค (sector) ของการพัฒนา เช่น โครงการพัฒนาภาค
เกษตรกร ภาคอุตสาหกรรม และโครงการพัฒนาภาคบริการ เป็นต้น
(5) โครงการพัฒนาแบ่งตามมิติวัตถุประสงค์ เช่น โครงการพัฒนาที่มุ่งไปที่วัตถุ หรือโครงการพัฒนาที่มุ่งไปที่ตัวคนหรือจิตใจ
นอกจากนี้โครงการพัฒนาที่แบ่งตามมิติวัตถุประสงค์ยังสามารถแบ่งย่อยออกไปอีกดังนี้
(A) โครงการทดลอง (experiment project) โครงการทดลองมีขนาดเล็กไม่หวังผลใน
ทันทีทันใด มุ่งที่จะกำหนดปัญหา และหาวิธีแก้ปัญหาให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
(B) โครงการนำร่อง (pilot project) เป็นโครงการที่มุ่งทดลองการดำเนินงานให้เหมาะสมกับท้องถิ่น
(C) โครงการสาธิต (demonstration project) เป็นโครงการที่แสดงให้เห็นว่าวีการใหม่ ดีกว่าวิธีการเก่า และน่าจะนำมาใช้
(D) โครงการผลิตซ้ำเพื่อนำมาใช้ใหม่ (replication project) จะเห็นได้ว่า โครงการพัฒนามีหลายประเภทด้วยกัน ปัญหาจึงมีอยู่ว่าเราจะมีหลักเกณฑ์ และแนวทางในการเลือกโครงการพัฒนาเหล่านี้อย่างไร ซึ่งตามทัศนะของ โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ นั้นเห็นว่า
หน่วยงานอาจเลือกโครงการมาปฏิบัติโดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ต่างๆ