ศูนย์เรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกับธรรมช
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module2
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์Module3
การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Module 1
more
แสดงความเห็นและอภิปรายกลุ่มได้ที่นี
นาย นนทพัทธ์ จิตตคาม 65423471148 Modlue1
เฮอร์เกร์ต จี ฮิกส์ Herbert G. Hicksให้ความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึงผลรวมปัจจัยต่างๆที่อยู่รอบๆองค์การ ว่า สงครามและสันติภาพ วัฒนธรรม จริบธรรม ทัศนคติ ทางการเมืองและเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ของประเทศทางพันธมิตร รูปแบบทางด้านประเพณี และวัฒนธรรม เศรษฐกิจท้องถิ่น ระดับประเทศ สหภาพแรงงาน ทัศนคติของประชาชน
นายคณิติน ศิริธีรวัฒนสุข
รหัสนักศึกษา 63423471142
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนา
จอร์จ เอฟ. แก้นท์ (George F. Gant) นักวิชาการชาวอเมริกันอธิบายแนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา (development administration) เป็นคนแรก ๆ โดยมีประสบการณ์มาจากการปฏิบัติงานที่ Tennessee Valley Authority (TVA.) ว่า การบริหารการพัฒนาเป็นคำที่ให้ความสำคัญกับหน่วยงานระบบการจัดการ และกระบวนการต่างๆ ซึ่งรัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนา พร้อมกันนี้ การบริหารการพัฒนายังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่กำหนดให้เกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ของการพัฒนาเพื่อทำการเชื่อมโยงและทำให้วัตถุประสงค์ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของชาติประสบผลสำเร็จ นอกจากนี้การบริหารการพัฒนายังช่วยปรับให้ระบบราชการและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ตอบสนองต่อการพัฒนาอีกด้วย ดังนั้น การบริหารการพัฒนาจึงหมายถึง การบริหารนโยบาย แผนงาน และโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
การบริหารการพัฒนาของแก้นท์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ “การบริหารงานภายใน (internal administration) หมายถึงว่าการบริหารงานใด ๆ มีความจำเป็นที่จะต้องจัดให้มีองค์การบริหารงานนั้น ๆ สามารถเป็นกลไกการบริหารที่ดีเสียก่อน จึงจำเป็นจะต้องจัดการภายในองค์การให้ดีให้มีประสิทธิภาพที่สุดซึ่งอาจทำได้ด้วยการจัดองค์การการบริหารงานบุคคลงานคลัง งานวางแผน การ
ตัดสินใจ ฯลฯ อันเป็นสาขาย่อยของรัฐประศาสนศาสตร์ให้ดีที่สุด ส่วนการบริหารงานภายนอก (external administration) ครอบคลุมถึงเรื่องต่าง ๆ ที่หน่วยงานนั้นติดต่อกับปัจจัยนอกทั้งหมด ทั้งนี้ด้วยการที่ค้นพบว่า ในการบริหารงานนั้น มิใช่แต่จะมุ่งถึงประสิทธิภาพของการบริหารภายในองค์การอย่างเดียว เพราะองค์การมีหน้าที่ต้องปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนให้เป็นผลสำเร็จอย่างดีที่สุด ซึ่งหมายถึงว่า นอกเหนือไปจากการจัดการภายในที่ดีแล้ว ยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบในการหาลู่ทางที่ดีติดต่อกับปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ให้ปัจจัยเหล่านั้นมาร่วมมือกับองค์การของตนเพื่อช่วยให้งานที่ได้รับมอบหมายสัมฤทธิผล ความสามารถในเชิงบริหารขององค์การที่จะบริหารปัจจัยภายนอกนี้ มีผลเกี่ยวกับความเป็นตายขององค์การส่วนมาก เพราะองค์การบริหารต้องมีส่วนปฏิบัติการติดต่อกับคนหรือปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ด้วยกันแทบทั้งนั้น
Modul 2
นาย อิทธิณัฐ แซมกลาง
การบริหารการพัฒนาราชการไทย
วัตถุประสงค์ของการุพัฒนาระบบราชการ
1.เพื่อให้ราชการเป็นกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของรัฐบาล
2 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของประเทศในการแข่งขันระดับเวทีโลก
3. เพื่อสร้างและฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชน และสังคมต่อระบบราชการ
4. เพื่อสร้างวัฒนธรรมและคุณค่าใหม่ในวงราชการ
5. เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยสรุป จุดมุ่งหมายสูงสุด คือ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเป็นอยู่ดี มีความสุข สังคมไทยมีเสถียรภาพ ประเทศชาติมีเกียรติภูมิ มีความสามารถสูงในการแข่งขันกับเวทีโลก
กรอบการปฏิรูประบบราชการ มีการจัดทำแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ เป็นไปในลักษณะองค์รวม เพื่อเปลี่ยนไปสู่ รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์ มีการวัดผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายอย่างเป็นรูปธรรม คือการทำงานเพื่อประชาชน วัดผลได้ มีความโปร่งใสวิธีการทำงานรวดเร็วและคล่องตัว
แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ใน 5 ด้าน
1.แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ
2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเป็นระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานและผลลัพธ์
3.แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล
4.แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย
5.แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม
เนื่องจากเป็นระบบใหญ่ จำเป็นต้องเร่งรีบดำเนินการปฏิรูปในทุกๆ ด้านพร้อมๆ กัน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงแก้ไขออกแบบใหม่ให้ดียิ่งขึ้น ได้ดำเนินการพร้อมกันทั้ง 5 ด้าน และปรับปรุงให้เหมาะสมตามสถานการณ์
ด้านจุลภาค แนวทางการพัฒนาการบริหารอาจครอบคลุมถึงการพัฒนาโครงสร้างกระบวนการ และพฤติกรรมทางการบริหาร
- เราอาจจะทำการวิเคราะห์วิจัยเพื่อดูว่าโครงสร้างทางการบริหารในปัจจุบันเอื้อหรือขัดขวางการบริหารการพัฒนามากน้อยเพียงใด ยกตัวอย่างเช่น
จากการศึกษาในอินเดียพบว่า ลักษณะทางโครงสร้างของระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นสายการบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทำและระบบกฎเกณฑ์ ล้วนแต่ไม่เอื้อต่อการบริหารการพัฒนาทั้งสิ้น จะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการซึ่งเป็นแนวความคิดของประเทศตะวันตกและใช้ได้ผลในประเทศเหล่านั้น แต่เมื่อนำมาประยุกต์ในประเทศที่กำลังพัฒนากลับไม่ได้ผล หรือได้ผลแต่ไม่เต็มที่ และยิ่งประเทศที่กำลังพัฒนาเน้นโครงสร้างระบบราชการสมัยใหม่เป็ นกรอบในการพัฒนามากเท่าใด ก็ยังท าให้รัฐบาลและมวลชนในประเทศที่กำลังพัฒนายิ่งแยกกันมากขึ้นเพียงนั้น ผลที่ตามมาก็คือ ความแตกแยกการก่อการร้ายและคตินิยมดั้งเดิมที่เน้นความรุนแรงขึ้น
>แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริหารอาจพิจารณาได้เป็นหลายแนวทาง
แนวทางที่หนึ่ง ก็คือ ความพยายามที่จะทำให้เส้นทางเดินของงานสั้นเข้าทั้งแนวตั้งและแนวนอน ทั้งนี้ก็เพื่อประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร
แนวทางที่สอง ก็คือ การพยายามทำงานให้ง่ายเข้า
แนวทางที่สาม ก็คือ การกระจายอำนาจออกไปยังหน่วยต่างๆ ที่อยู่เบื้องล่างเพื่อลดความแอดัด ของภารกิจของงานที่ส่วนกลาง (Deconcentration) และบางทีก็มอบอำนาจให้หน่วยล่างอย่างเด็ดขาดไปเลย (devolution) อย่างไรก็ดี ก่อนที่จะกระจายอำนาจไปยังเบื้องล่างนั้นหน่วยงานพัฒนาจำเป็น จะต้อง รวมอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้เสียก่อน มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาในการติดตามและประเมินผลงานในภายหลัง
@Takkapad Dulalumpa
โครงสร้างการบริหารงาน
สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มีการแบ่งส่วนงาน เพื่อสนับสนุนภารกิจหลักของคณะวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแก่ชุมชน การบริหารองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีกลไกการดำเนินการ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการของผู้บริหาร และการบริการนิสิต อาจารย์ บุคลากรภายในคณะวิทยาศาสตร์ ตามโครงสร้างการแบ่งส่วนงาน คือ 1. งานบริหารและธุรการ 2. งานคลังและพัสดุ 3. งานบริการการศึกษา 4. งานนโยบายและแผน
พัฒนาการของทฤษฎีองค์การที่แบ่งเป็น 3 ยุค คือ
1).ยุคคลาสสิก
2).ยุคนีโอคลาสสิก
3).ยุคสมัยใหม่
1.ทฤษฎีองค์การในยุคคลาสสิก (Classical Organization Theory) เป็นยุคเริ่มต้นของการศึกษาองค์การ แนวคิดหลักของยุคนี้คือความพยายามในการแสวงหาหลักการทำงานและหลักการบริหารที่ดีที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหาร
ทฤษฎีสำคัญๆในยุคนี้ เช่น
-การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ของเฟดเดอริก ดับเบิลยู เทเลอร์
-หลักการบริหารของกุลลิค-เออร์วิค
-องค์การตามระบบราชการของแมกซ์ เวเบอร์
2.ทฤษฎีองค์การยุคนีโอคลาสสิก (Neoclassical Organization Theory) เป็นยุคที่นักวิชาการออกมาวิจารณ์แนวคิดในยุคแรก เนื่องจากแนวคิดยุคแรกให้ความสำคัญกับ หลักการทำงานและการการบริหารงานมากเกินไป โดยละเลยคนในองค์การ
>ยุคนีโอคลาสสิกจึงเสนอว่า การจะให้องค์การมีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพจะต้องให้ความสำคัญกับคนในองค์การทั้งในเรื่องของจิตใจ ความต้องการ และพฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มในองค์การ
>ทฤษฎีองค์การในยุคนี้จะมีจุดหลักอยู่ที่นักทฤษฎีในกลุ่มมานุษยนิยม (Humanism) เช่น เอลตัน เมโย /อับราฮัม มาสโลว์ /เฮอร์เบิร์ต ไชม่อน/แมรี่ ปากเกอร์ ฟอลลเลต และคนอื่นๆอีกมาก
**โดยทฤษฎีที่นำเสนอส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของคน**
3.ทฤษฎีองค์การยุคใหม่ (Modern Organization Theory) เป็นแนวคิดที่มองว่าทฤษฎีใน 2 ยุคแรกเป็นการมององค์การในระบบปิด (Closed Perspective) คือไม่สนใจสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
>ทฤษฎีองค์การยุคใหม่มองว่าองค์การนั้นอยู่ภายใต้สภาวะแวดล้อมและสิ่งแวดล้อมมีผลอย่างยิ่งต่อองค์การและการบริหารงานในองค์การ ดังนั้นการศึกษาองค์การจึงควรศึกษาในระบบเปิด (Open Perspective)
ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ ประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตาม การตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตาม ความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ที่ กล่าวมาแล้ว คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เห็นชอบตามแผนปฏิรูประบบ บริหารภาครัฐซึ่งกำหนดให้มีการกำหนดปฏิรูปราชการด้วยแผนงานหลัก 5 แผน คือ 1) แผนการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจและการบริหารงานภาครัฐ 2) แผนการปรับเปลี่ยนงบประมาณการเงินและการพัสดุ 3) แผนการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารบุคคล 4) แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย 5) แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นกิจกรรมสำคัญของแผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและ วิธีการบริหารงานของภาครัฐ ซึ่งกำหนดว่าภาครัฐจะต้องเปลี่ยนแนวทาง การบริหารไปสู่การบริหาร ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยยึดประชาชนเป็นเป้าหมายหลักในการทำงาน การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็น เครื่องมือการบริหารที่มาพร้อมกับแนวคิดการบริหารภาครัฐแนวใหม่(New public management) ที่ต้องคำนึงถึงประชาชนและผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อให้การทำงานของภาครัฐ มุ่งเน้นผลลัพธ์ของงานมากกว่าเน้นปัจจัยนำเข้ากระบวนการทำงานและกฎระเบียบที่เคร่งครัด โดย จะมีการวัดผลอย่างมีรูปธรรม การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ให้ความสำคัญกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน และการกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกัน รวมถึงการ กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่ชัดเจนในการวัดความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานเพื่อให้การทำงาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความรับผิดชอบต่อประชาชน และเกิดความคุ้มค่าในการใช้ภาษีของ ประชาชนและงบประมาณแผ่นดิน
5.3 จงกล่าวถึงพัฒนาการบริหารของระบบราชการไทยรวมทั้งภาระกิจของการพัฒนาเพื่อการบริหาร การบริหารการพัฒนาราชการไทย การบริหารเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่นำมาซึ่ง ความสาเร็จโดยเฉพาะการพัฒนากระบวนการหรือวิธีการต่างในสมัย เพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลง โลกไร้พรมแดนที่เรียกว่าโลกาภิวัตน์ การติดต่อสื่อารไปมาได้เร็ว ความต้องการคุณภาพของสินค้า และบริการของลูกค้าที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ นั่นเอง แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการบริหารองค์การ อย่างมากทั้งภาคธุรกิจและระบบราชการ ซึ่งเรียกว่าการบริหาร โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ดร.สัญญา เคณา ภูมิ 2555 : 132 - 133) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ผลเป็นเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อให้ เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศณ์และวิธีการบริหารงานให้เปลี่ยนไปจากเดิมให้ความสำคัญต่อ ทรัพยากรหรือปัจจัยนำเข้า (input) เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน โดยหันมาเน้นถึงวัตถุประสงค์ และสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินงานทั้งในแง่ของผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) และ ความคุ้มค่าของเงิน (Value for money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและสร้างความพึงพอใจให้แก่ ลูกค้าและผู้บริการ การบริหารราชการแบบเดิมให้ความสาคัญกับปริมาณทรัพยากรนำเข้า ได้แก่จำนวน งบประมาณอัตรากำลัง อาคารสถานที่และวัสดุครุภัณฑ์ต่างๆมีการใช้กฎระเบียบที่รัดกุมควบคุมการ ปฏิบัติราชการมิให้ราชการใช้ดุลยพินิจมากเกินไป รวมถึงมีกระบวนการทำงานที่ลดหลั่งตามสายการ บังคับบัญชาทำให้บริการที่เป็นผลผลิตของระบบราชการมีต้นทุนสูงและประชาชนผู้รับบริการไม่ พอใจบริการที่ล่าช้าไม่สะดวก การมุ่งสัมฤทธิ์ผล (Results Based Management-RBM) เป็นเครื่อง การบริหารที่มาพร้อมกับแนวคิดการบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ซึ่งมี การนำมาใช้กับภาครัฐและภาคเอกชนในหลายประเทศทั้งหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศในแถบเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ และฮ่องกง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 “การ บริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ต้องการของประชาชน แต่ในขณะเดียวกันก็อำนวยความสะดวกให้สมาชิกขององค์การมีความ เจริญเติบโตไปพร้อมๆกันด้วย 2 แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริหาร แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริ หารอาจพิจารณาได้เป็นหลายแนวทาง แนวทางที่หนึ่ง ก็คือความพยายามที่จะทำให้เส้นทางเดินของงานสั้นเข้าทั้งแนวตั้งและแนวนอน ทั้งนี้ก็เพื่อประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร แนวทางที่สอง ก็คือ การพยายามทำงานให้ง่ายเข้า แนวทางที่สาม ก็คือ การกระจายอำนาจออกไปยังหน่วยต่างๆ ที่อย่เบื้องล่างเพื่อลดความแออัดของภารกิจของงานที่ส่วนกลาง (Deconcentration) และบางทีก็มอบอำนาจให้หน่วยล่างอย่างเด็ดขาด ไปเลย (devolution) อย่างไรก็ดี ก่อนที่จะกระจายอำนาจไปยังเบื้องล่างนั้นหน่วยงานพัฒนาจำเป็น จะต้อง รวมอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้เสียก่อน มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาในการติดตามและ ประเมินผลงานในภายหลัง 3 การพัฒนาพฤติกรรมทางการบริหาร จากการศึกษาในอินเดียเกี่ยวกับลักษณะทาง พฤติกรรมของระบบราชการอัน ได้แก่ การไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนตัว ความมีเหตผุลและการมุ่งปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ พบว่าการไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนตัว มีส่วนเอื้อต่อ การปฏิบัติงานให้สมัฤทธิผล (การปฏิบัติงานให้ สมัฤทธิผลเป็นดรรชนีหนึ่งของความมุ่งมั้นในการพัฒนาประเทศหรือการบริหารการพฒันา) และความมีเหตุผล มีส่วนเอื้อ ต่อการเปลี่ยนแปลง การปฏิบัติงานให้สมัฤทธิผล และการยอมให้ประชสชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ(ความเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานให้สัมฤทธิผลและการยอมให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเป็นดรรชนีของการบริหารการพัฒนาเช่นเดียวกัน) แต่การมุ่งปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์กลับไม่เอื้อดรรชนีของการบริหารมิใช่สูตรสำเร็จที่ลอกเลียนกันได้อย่างง่ายๆทั้งในแง่กรอบ แนวความคิด ระเบียบวิธีวิจัย เละการตีความข้อมลู ตรงกัน ข้าม พฤติกรรมการพฒันา ไม่พฒันา หรือที่เรียกว่าความมุ่งมั่นในการพฒันาประเทศนั้นอาจจะสืบเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมนโยบายการ บริหารโครงสร้างทางการบริหาร และกระบวนการการบริหาร ตลอดจนภูมิหลัวทางสังคมเศรษฐกิจของ ผ้ปูฏิบัติงานเองก็ได้
ประการที่สี่ การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารอาจจะพิจารณาในแง่ของขนาดขององค์การว่า ขนาดไหนจึงจะเหมาะสมกับภารกิจที่รับผิดชอบอยู่ นั้นก็คือ จะต้องไม่ใหญ่โตจนเกินไปจนยากแก่การ บริหารหรือไมเ่ล็กจนเกินไปจนทำอะไรไม่ได้ ประการที่ห้า การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารเพื่อรองรับการบริหารการพัฒนาควรจะต้อง เน้นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เฉพาะอย่างยิ่งปรัชญาการบริหารการ พัฒนาก็คือ ประชาธิปไตยแบบรากหญ้า (grass roots democracy) หรือประชาธิปไตยแบบรากข้าว (rice roots democracy) ซึ่งตามความเห็นของ เชอรี่ อาร์.อาร์นสไตน์ (Sherry R. Arabstein) นั้นการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของประชาชนก็คือ จะต้องมีอำนาจควบคุมการดำเนินงานและการจัดการ โครงสร้างการพัฒนาอย่างเต็มที่ด้วยตนเอง ประการที่หก การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารควรเน้นการประสานงานในแนวนอนเก่าๆ กับในแนวตั้งเนื่องจากการบริหารการพัฒนาจำเป็นต้องอาศยัความร่วมมือท้ังจาก สหสาขาวิชาสหอาชีพและสหสถาบับฉะนั้นการประสานงานโดยอำนาจบังคับบญัชาอาจจะต้องเสริม ด้วยการประสานงานโดยการบริหารเพื่อการพฒันา การแสวงหาความเห็นพ้องต้องกันระหว่างฝ่ายสาย ช่วยอำนวยการและฝ่ายสายงานหลัก การประสานงานโดยการปล่อยหรือขยักทรัพยากรเอาไว้ การ ประสานงานโดยการเจรจาประนีประนอม และการประสานจากเบื้องล่างซึ่งประชากรเป้าหมายได้รับ ความช่วยเหลือจากหลายๆ หน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น ในจาเมกานั้นมีหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ แก่ชาวนาอยู่ถึง 43หน่วยงาน ประการที่เจ็ด การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารควรทำไปพร้อมๆ กับการออกแบบงาน ซึ่ง การออกแบบงาน (work or job design) ก็คือการกำหนดรายการจำเพาะเกี่ยวกัย เนื้อหาวิธีปฏิบัติงาน และความสัมพันธ์ระหว่างงานต่างๆ เพื่อที่จะสามารถสนองตอบต่อความต้องการทั้งทางด้านองค์การ เทคโนโลยีสังคมและความต้องการส่วนตัวของผ้ปูฏิบัติงานเองและวัตถปุระสงค์ของการออกแบบงาน ก็เพื่อให้บคุคลมีมูลเหตุจูงใจในการทางานด้วยความพึงพอใจและมีผลงานที่ดีอันจะเป็นประโยชน์ตอ่การ พฒันาประเทศ ประการที่แปด การพฒันาโครงสร้างทางการบริหาร ควรคำนึงหลังการบริหารงานบุคคล และ การแรงงานสัมพันธ์ (PAIR PA = Personnel Administration, IR = Industrial Relations) ทังนี้เพราะ ในระหว่างที่มีการนำเอาโครงการพฒันามาปฏิบัตินั้นหากมีการหยุดชะงัก หรือการนัดหยุดงานย่อมทำ ให้กระทบกระเทือนต่อตารางเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก ประการสุดท้าย การพฒันาโครงสร้างทางการบริหาร ควรยึดแนวทางของ “องค์การกลยุทธ” (Strategic organization) นั่นก็คือ การจัดโครงสร้างและภารกิจขององค์การที่สามารถสนองความ
5.2 แนวทางการพัฒนาในระดับจุลภาคมีอะไรบ้าง ด้านจุลภาค แนวทางการพัฒนาการบริหารอาจครอบคลุมถึงการพัฒนาโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมทางการบริหาร 1 แนวทางการพัฒนาโครงสร้างทางการบริหาร อาจทพได้หลายวิธี ประการแรก เราอาจจะทพการวิเคราะห์วิจัย เพื่อดูว่าโครงสร้างทางการบริหารในปัจจุบัน เอื้อหรือ ขัดขวางการบริหารการพัฒนามากน้อยเพียงใดยกตัวอย่างเช่นจากการศึกษาในอินเดียพบว่าลักษณะ ทางโครงสร้างของระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นสายการบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทำและระบบ กฎเกณฑ์ ล้วนแต่ไม่เอื้อ ต่อการบริหารการพัฒนาทั้งสิ้นจะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการซึ่งเป็น แนวความคิดของประเทศตะวันตกและใช้ได้ผลในประเทศเหล่านั้น แต่เมื่อนำมาประยุกต์ในประเทศที่ กำลังพัฒนากลับไม่ได้ผล หรือได้ผลแต่ไม่เต็มที่ และยิ่งประเทศที่กำลังพัฒนาเน้นโครงสร้างระบบ ราชการสมัยใหม่เป็นกรอบในการพัฒนามากเท่าใด ก็ยังทำให้รัฐบาลและมวลชนในประเทศที่กาลัง พฒั นายิ่งแยกกันมากขึ้น เพียงนั้นผลที่ตามมาก็คือ ความแตกแยกการก่อการร้ายและคตินิยมดั้วเดิมที่ เน้นความรุนแรงขึ้น ประการที่สอง หลัง จากวิเคราะห์วิจัย แล้ว ถ้าพบว่าโครงสร้างทางการบริหารเดิมยังไม่เพียงพอ ต่อการปฏิบัติภารกิจของการบริหารการพฒันาได้จำเป็นต้องสร้างหรือพัฒนา“หน่วยงานสร้างชาติ”เพื่อ รับผิดชอบงานใหม่ๆเช่น การพฒันาหน่วยงานวางแผนการพฒันาอตุสาหกรรม การดูแลรัฐวิสาหกิจ การยกระดับผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ การปรับปรุงโครงข่ายการขนส่งและการ สื่อสารและการปฏิรูประบบการศึกษา ประการที่สามการพฒันาโครงสร้างทางการบริหารอาจจะทำได้โดยการจัดองค์การ แมททริกซ์ (Matirx organization) กล่าวคือ เป็นรูปแบบหนึ่งขององค์การที่ประกอบด้วยทีมผู้เชี่ยวชาญ เพื่อดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงในขณะเดียวกันก็ได้รับการสนับสนุนจากผ้บูริหารที่คอย ทำหน้าที่เป็นผ้ปูระสานงานมากกว่าผู้บังคับบัญชาองค์การแมททริกซ์ดั่งกล่าวนี้บางทีก็เรียกว่าองค์การ โครงการพฒันา (Project organizations) ซึ่งโครงการพฒันานี้อ้าจจะเป็นโครงการพฒันาเอกเทศ เช่น โครงการพฒันาหบุเขาเทนเนสซี โครงการพฒันา ซึ่งพยามยามดึงเอาจุดการตัดสินใจให้ไปอยู่ในระดัยที่ ต่ำสดุเท่าที่จะทำได้
บริหารโครงการ ตลอดจนการกำหนดหน้าท่ีขององค์การในการบริหารงานให้บรรลุผลสาเร็จ หลัง สงครามโลกครั้งท่ี 2 ในปี ค.ศ.1947 สหรัฐอเมริกาได้เข้าไปช่วยเหลือฟื้นฟูประเทศต่างๆ ในยุโรปให้ ฟื้นตัวจากสงคราม โดยใช้แผนการมาร์แชล (Marshal Plan) มีจุดมุ่งหมายคือ ให้ยุโรปมีความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ เพื่อสามารถต่อต้านการรุกรานจากฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ จนกลายเป็นประเทศ ท่ีพัฒนาในเวลาต่อมา ซึ่งความสาเร็จของการพัฒนาประเทศต่างๆ ในยุโรปนี้ได้ถูกนำเอาไปเป็นตัวอย่างในการพัฒนาประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาอื่น ในเอเชีย อัฟริกาและ ลาตินอเมริกาในเวลาต่อมา โดยมีองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN) มีบทบาทสาคัญ ในการให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ด้วย ซึ่งการช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในยุโรปท่ีเข้ามาให้ความช่วยเหลือนี้มาในรูปแบบของการให้ เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ให้เงินช่วยเหลือแบบให้เปล่า รวมท้ังการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ โดย ประเทศต่างๆ ท่ีได้รับการช่วยเหลือได้เร่ิมมีแผนพัฒนาฯ เป็นเครื่องมือเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ สำหรับประเทศไทยได้เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2504 และได้ยึดเอาแนวคิดในการพัฒนาประเทศจากประเทศท่ีพัฒนาแล้วเป็นตัวแบบอุดมคติเพื่อมุ่ง พัฒนาไปถึงจุดหมายน้ัน
นายธนาวุฒิสีหะนาม 63423471004 5.1 จงกล่าวถึง การบริหารเพือการพัฒนาในยุคต่างๆ และรูปแบบของการพัฒนาการบริหาร แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาเร่ิมเป็นที่ยอมรับเมื่อประมาณต้นทศวรรษ 1950’s โดยมีจุดกาเนิดมาจากวิวัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีการพัฒนาองค์ความรู้จากการ บริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ (comparative public administration) และเศรษฐศาสตร์การพัฒนา (development economic) เพื่อมุ่งให้วิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือบริหารรัฐกิจมีหลักการที่เป็น สากล และมุ่งหาระบบบริหารงานของประเทศกาลังพัฒนาเพื่อช่วยให้การพัฒนาประเทศบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ โดยมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กัน ในหลายมิติ (multidimensional) คือ การพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาแบบสหวิทยาการ (อุทัย เลาหวิเชียร,2548 : 92) การบริหารการพัฒนาตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า ใน ฐานะท่ีเป็นศาสตร์หรือสาขาวิชา และ ในฐานะท่ีเป็นกิจกรรม หรือกระบวนการ ซึ่งความหมายท้ัง 2 ลักษณะ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ การบริหารการพัฒนา ในฐานะที่เป็นศาสตร์หรือสาขาวิชาน้ัน เป็นความรู้ที่ได้มาจากการสังเกต การศึกษาและการวิจัยจาก กิจกรรมหรือการปฏิบัติในโลกท่ีเป็นจริง เป็นความรู้หรือวิชาต่างๆ ท่ีมีลักษณะเป็นระเบียบเป็น ระบบ นาไปปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาหน่วยงาน องค์การหรือสังคมตามสถานการณ์ จนได้รับ การยอมรับว่าเป็นสาขาหน่ึงของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ในช่วง ค.ศ. 1960 จนถึงปัจจุบัน สาหรับการบริหารการพัฒนาในฐานะท่ีเป็นกิจกรรมหรือกระบวนการเร่ิมตั้งแต่ในปี ค.ศ.1930 – 1939 เป็นช่วงเวลาเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกาในยุคสมัย ประธานาธิบดี ธีโอดอร์ รูสเวลท์ ได้ให้ความสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก มีการริเร่ิมโครงการพัฒนาต่างๆ การออกกฎหมายเก่ียวกับธนาคาร การปฏิบัติการทางการเงิน การให้หลักประกันด้านสวัสดิการทางสังคม และสุขภาพอนามัยของประชาชน จนประสบความสาเร็จ นับเป็นแบบอย่างในการพัฒนาแก่ประเทศอื่นๆ ในเรื่องการกาหนดนโยบาย การวางแผน การ
ปัจจัยหลักในการพัฒนาการบริหาร(ต่อ)
2. การพัฒนาด้านวัสดุ (พัสดุ)ในประเทศที่กำลังพัฒนางานพัสดุมักไม่ค่อยได้รับความสนใจจากผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ในระดับผู้ปฏิบัติงานต่างหากที่จะต้องร่างหนังสือ พิมพ์หนังสือ กรอกแบบฟอร์ม ติดต่อขอใช้สถานที่ จัดโต๊ะเก้าอี้ ฯลฯ ผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้ตรวจตรา ควบคุม สั่งการลงนามในหนังสืออนุมัติ ผู้ที่รู้ดีว่าอะไรขาด อะไรเสีย ก็คือเจ้าหน้าที่ในระดับผู้ปฏิบัติงานชั้นสูง
3. การพัฒนาด้านการเงิน
การพัฒนาด้านการเงิน หมายถึง การปรับปรุงให้มีการใช้เงินที่หน่วยงานมีอยู่หรือที่จะได้รับมาให้ได้ผลดีที่สุดแก่การบริหารของหน่วยงานนั้น ดังนั้นเป้าหมายของการพัฒนาการเงินจึงมีเพื่อ
- พัฒนาทัศนคติและทักษะของผู้บังคับบัญชาและเจ้าหน้าที่การเงินให้เห็นความสำคัญของการใช้เงินเป็นเครื่องมือในการบริหาร
- พัฒนาความสามารถของเจ้าหน้าที่การเงินให้ทำหน้าที่การเงินได้โดยสมบูรณ์นอกเหนือจากการทำบัญชี
- พัฒนาความสามารถของเจ้าหน้าที่การเงินให้ทำบัญชีได้ทันสมัย ง่ายต่อนักบริหารจะพิจารณาสถานภาพการเงินได้สะดวกกว่าที่เป็นอยู่
- พยายามใช้วิธีการเบิกจ่ายเงินที่สะดวกแก่หน่วยงาน ข้าราชการ พนักงานเจ้าหน้าที่และลูกหนี้ต่างๆ ไม่ได้ล่าช้าหน่วงเหนี่ยวเป็นผลเสียหายแก่ทางราชการ
สำหรับวิธีการพัฒนาด้านการเงินสามารถใช้การฝึกอบรม พัฒนาระบบบัญชี ระบบเบิกจ่าย และการงบประมาณให้ทันสมัยและสอดคล้องกันที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การจัดหาเครื่องใช้ที่ทันสมัยมาใช้ในหน่วยงานการเงินทุกระดับ เช่น เครื่องคิดเลข พิมพ์ดีด เครื่องถ่ายสำเนา ฯลฯ
4. การพัฒนาด้านการจัดการ
การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการที่นำคน เงิน และวัสดุมาดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ เรียกได้ว่า การจัดการเป็นเครื่องมือที่จะใช้ในการกระทำให้เกิดงานขึ้น ความหมายของการจัดการกว้างขวางมากคลุมไปถึงการดำเนินการทุกอย่างที่ฝ่ายบริหารจัดทำทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม หรือไม่น่าจะเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของงานเลยก็ตามการจัดการที่ดี หมายถึง การดำเนินการต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานขององค์การเป็นผลสำเร็จ ส่วนการจัดการที่ไม่ดีย่อมหมายถึงการดำเนินการเพื่อประโยชน์อย่างอื่น ๆ หรือโดยอ้อมค้อมมากกว่าจะตั้งใจทำงานให้สำเร็จไป
5. การพัฒนาด้านการวางแผน
- ส่วนใหญ่ประเทศที่กำลังพัฒนามีแผนพัฒนาระดับชาติ
- แผนพัฒนาระดับชาติป็นแผนกว้าง ๆ ต้องอาศัยแผนย่อยเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุผลสำเร็จ
- อุปสรรคข้อหนึ่งที่ทำให้แผนพัฒนาระดับชาติไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควรเป็น
เพราะหน่วยงาน ขาดผู้มีความรู้ความสามารถในด้านการวางแผน แผนงานจึงถึง
กำหนดมาอย่างมีข้อบกพร่องทำให้เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอยู่ตลอดเวลา
- ข้อแก้ไขจึงควรรับผู้มีความรู้ความสามารถในด้านการวางแผนเข้ามาประจำทุกหน่วยงานที่สำคัญ ๆ และมีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้เข้าใจถึงความสำคัญของการวางแผน
6. การพัฒนาด้านการกำหนดนโยบาย
- ในประเทศกำลังพัฒนาข้าราชการประจำจะเป็นผู้ที่มีความเป็นกลางในทางการเมือง คือ การทำหน้าที่บริหารให้สำเร็จตามนโยบายที่วางไว้
- แต่ในความเป็นจริงแล้วข้าราชการประจำจะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลอยู่มากพอสมควรใน
ด้านการกำหนดนโยบาย เพราะข้อมูลและข่าวสารส่วนใหญ่จะมาจากข้าราชการประจำ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นที่ปรึกษาของฝ่ายบริหารประเทศ
-ฝ่ายบริหารจึงควรจัดตั้งหน่วยงานที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อที่ฝ่ายบริหารจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและขณะเดียวกันต้องหาวิธีการในการกำหนดนโยบายที่ได้ประสิทธิผลให้มาก
- วิธีการในการกำหนดนโยบายนี้เป็นวิธีหาทางเลือกที่ได้ผลที่สุดโดยอาศัยหลัก
เหตุผลเป็นเกณฑ์ เช่น การวิเคราะห์การลงทุนและผลได้ การวิจัยการปฏิบัติการหรือระบบการทำงบประมาณแบบ PPBS เป็นต้น
@สรัญณัฎฐ์1003
ในการพัฒนาการบริหารในด้านการเงินหากมีการผิดพลาดขึ้นมาก็จะมีผลกระทบตามมาหลายอย่างด้วยความเสี่ยง
ต้องมีการดําเนินการ
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมต้อง
ดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน
เริ่มจากวิเคราะห์จนถึงลงมือกำกับติดตาม ควบคมุ และรายงาน
มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องครบทุกขั้นตอน
เริ่มดําเนินการตั้งแต่การเริ่มต้นภารกิจหรือโครงการจนสินสุด โครงการ
มีการพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงและการควบคมุ ฯ จนกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของวัฒนธรรมการทำงานขององค์กรในทีสุดจึงจะทำให้ความสำเร็จของการบริหารและความเสี่ยงและการควมคุมภายในจะต้องเกิดจากการร่วมมือร่วมใจของทุกคนในองค์กร
ปัจจัยหลักในการพัฒนาการบริหาร
- ปัจจัยหรือตัวแปรหลักในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการบริหารให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่ คน วัสดุ เงิน การจัดการ การวางแผน และการกำหนด
นโยบาย
1) การพัฒนาการบริหารด้านคน
การพัฒนาคนถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุด เพราะว่าการใช้ปัจจัยอื่น ๆ ทุกอย่างจะสำเร็จได้ผลก็อยู่ที่ความสามารถของบุคคลที่จะทำให้ได้เท่านั้น
• การที่มีคนหย่อนสมรรถภาพหรือมีปริมาณไม่เพียงพอกับงาน หรือไม่มีความรู้ใน
หน้าที่การงาน ย่อมไม่อาจทำให้เกิดผลงานเท่าที่ควร
• สำหรับประเทศที่ด้อยพัฒนาเป็นที่ยอมรับกันอยู่ว่ามีปัญหาอย่างมากในเรื่องการ
ขาดแคลนผู้มีความรู้ความสามารถในการทำงาน
- หลักการของการบริหารงานบุคคลสมัยใหม่ การรับคนเข้าทำงานจะเน้นความรู้ความสามารถในการทำงาน แต่เนื่องจาก
ประเทศที่กำลังพัฒนามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง อันมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์การ การนำ
วิทยาการสมัยใหม่เข้ามาใช้หรือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
- สิ่งเหล่านี้อาจมีผลทำให้คนที่ทำงานในองค์การขาดความรู้ความสามารถหรือมีพฤติกรรมที่ไม่ช่วยให้การทำงานมีผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าจะเป็น
หน้าที่ของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา แต่ก็มีข้อจำกัดบางอย่างที่ไม่อาจทำได้ ดังนั้นภาระหน้าที่รับผิดชอบจึงตกอยู่กับองค์การแต่ละองค์การที่จะหาหนทางในการที่จะพัฒนาคนของตนให้มีความรู้
ความสามารถในการทำงาน
-การพัฒนาความรู้จะมุ่งพัฒนา 2 เรื่องใหญ่ คือ
1.การพัฒนาความรู้ทางเทคนิค
เพื่อให้คนในองค์การมีความรู้ความสามารถเฉพาะอย่างให้ทันสมัยอยู่เสมอจึงจะสามารถทำงานในหน้าที่ของตนได้ดี
2.การพัฒนาความรู้ทางการบริหารเพื่อให้คนในองค์การได้มีหลักและกลวิธีการในการบริหารงานที่ทันต่อยุคสมัยตลอดเวลา
- วิธีการพัฒนาบุคคล
มีอยู่ 3 ประการคือ
• การให้การศึกษา
• การฝึกอบรม
• การให้ไปดูงาน (ทั้งภายในและภายนอกประเทศ)
รูปแบบในการพัฒนาแบบบริหาร
- เป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาการบริหาร สามารถทำได้ 3 วิธี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปหรือการวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในกรอบของโครงสร้างที่มั่นคงแล้วการต่อต้านจะเกิดขึ้นจากผู้นำ ถ้ามลักษณะที่จะทำลายโครงสร้างที่มีอยู่รูปแบบในการพัฒนาแบบบริหาร
2. การปฏิวัติ เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างขนาดใหญ่และรวดเร็วครอบคลุมทั้งในเรื่องโครงสร้างและค่านิยมที่ยึดถือนักปฏิวัติจะไม่ยอมให้มีการประนีประนอมหรือมีการเปลี่ยนแปลงค่อยเป็นค่อยไปโดยเด็ดขาด
3. การปฏิรูป เป้าหมายขั้นสุดท้ายของการปฏิรูปคือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและค่านิยมที่มีอยู่ แต่ลักษณะของการปฏิบัติจะอยู่ในกรอบของโครงสร้างที่มีอยู่
- นักปฏิรูปนิยมใช้การประนีประนอม เพื่อมิให้เกิดปัญหาขึ้นในส่วนรวม
การทำงานของภาครัฐในด้านการพัฒนา
• ในการทำงานของหน่วยงานของภาครัฐอาจจะทำงานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อาจมีสาเหตุดังนี้
• หน่วยงานเกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้าง กระสวนของพฤติกรรมของตนเอง มีกฎและวิธีในการทำงานเป็นของตนเอง และมีวัตถุประสงค์ในการทำงานของตนเอง อาจจะไม่ตรงกับเป้าหมายของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
• การที่ระบบคุณธรรมได้ถูกทดแทนไปโดยระบบอาวุโส เป็นผลให้หน่วยงาน
อาจได้ผู้บริหารงานที่ไม่มีความสามารถเพียงพอ
• การขยายอัตราคนทำงานโดยไม่คำนึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล
• การรับใช้ประชากรเฉพาะกลุ่มจนละเลยต่อเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ
ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้
1) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒั นาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากร เทคโนโลยแีละชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์ ด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ รวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหวังขององค์การและความต้องการของ
บุคคล ทั้งนี้รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ภายในองค์การด้วยและปฏิกิริยาโต้ตอบและความขัดแย้งดังกล่าวนี้นี่เองที่เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรม (ที่พัฒนาหรือไม่พัฒนา)ของบุคคล
น.ส. สรัญณัฎฐ์ 63423471003
แนวความคิดเรื่องการปฏิรูประบบบริหาร การปฏิรูประบบบริหาร คือ เครื่องมือของการพัฒนาการบริหารเพื่อแก้ไขระบบบริหาร ที่มีปัญหาหรือขาดประสิทธิภาพให้มีสมรรถนะที่จะปฏิบัติงานได้ทุกประเทศจึงมีการปฏิรูประบบบริหารอยู่ตลอดเวลา
• ประเทศที่กำลังพัฒนา
-มีปัญหามากมายเกี่ยวกับการบริหาร ได้แก่ การขาดสมรรถนะของระบบบริหารที่จะนำเป้าหมายการพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ
-สิ่งที่ถือเป็นเรื่องเร่งด่วนของประเทศเหล่านี้ก็คือ การแก้ไขระบบราชการให้มีสมรรถนะเพื่อการพัฒนาประเทศดังนั้น รัฐบาลในทุกประเทศจึงต้องอาศัยการปฏิรูประบบบริหารในลักษณะที่ต่อเนื่อง การจะอาศัยให้ระบบเปลี่ยนแปลงและปรับตัวไปตามธรรมชาติย่อมเป็นไปได้ยาก เพราะจะไม่ทันกับความต้องการของประชาชนที่ต้องพึ่งระบบราชการในเรื่องบริการสาธารณะและการพัฒนา
ระบบภาครัฐที่เป็นคอขวด
และในวันที่อาสาสมัครคือกำลังหลักในการช่วยเหลือประชาชน
ตั้งแต่เดือนเมษายนเป็นต้นมา การระบาดของโควิด-19 ระลอกที่ 3 ต่อระลอก 4 ส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล บุคลากรด่า
นหน้าทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เตียงเต็มจนล้นแทบทุกที่ ไม่สามารถจัดหาเตียงให้ผู้ป่วยได้ครบทุกราย และยังมีปัญหาอื่นๆ อีกมากมายเต็มไปหมด เมื่อบุคลากรของรัฐเริ่มจะรับภาระที่ล้นมือนี้ไม่ไหว กลุ่มอาสาสมัครจึงก้าวเข้ามาทำหน้าที่เป็นกำลังเสริมเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในจุดนี้ครับ
อย่างไรก็ตาม อาสาสมัครบางกลุ่มพบว่า พวกเขาไม่สามารถทำงานช่วยเหลือประชาชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบการดำเนินงานของรัฐนั้นค่อนข้างที่จะไม่เชื่อมโยงกันและมีกฎระเบียบมากเกินพอดี จึงไม่สามารถสนับสนุนอาสาสมัครได้ดีเท่าที่ควร ดังนั้น เมื่อทำงานจริงก็จะเกิดปัญหา“คอขวด (Bottle Neck)” ในกระบวนการทำงาน
#ปัญหาคอขวดอันล่าช้า
ปัญหาคอขวด คือ กระบวนการทำงานที่ล่าช้าจนเกิดงานสะสมและเสียเวลาทำงานโดยสูญเปล่า ทีมอาสาสมัครเส้นด้ายสามารถเข้าถึงตัวและหาเตียงให้ผู้ป่วยได้รวดเร็วกว่ารัฐในหลายๆ ครั้ง เนื่องจากเมื่อพวกเขาได้รับแจ้งก็จะรีบรุดไปหาผู้ป่วยทันที ขณะที่รัฐต้องการข้อมูลยืนยันก่อน เช่น ผลแล็บ จึงจะส่งเจ้าหน้าที่ไปดำเนินงานได้
ทว่าข้อมูลของหน่วยงานรัฐหลายส่วนไม่ได้เชื่อมกัน เมื่อจำเป็นต้องดึงมาใช้ก็ค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน อีกทั้งยังต้องการข้อมูลผลตรวจจากแล็บที่ได้รับการรองรับโดยรัฐเอง ซึ่งกว่าจะได้ผลแล็บก็ต้องใช้เวลานาน และไม่ใช่ทุกคนที่จะได้รับการตรวจอย่างทันท่วงที ส่งผลให้ผู้ป่วยหลายหมื่นรายเข้าถึงการรักษาได้ช้า เมื่อรับการรักษาช้าก็มีโอกาสเสียชีวิตมากขึ้น
แม้จะน่าเศร้าแต่เราต้องยอมรับว่า มีประชาชนเสียชีวิตเป็นจำนวนมากส่วนหนึ่งมาจากระบบอันล่าช้านี้
แน่นอนว่าการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลตารวดเร็วกว่าสายพันธุ์อื่น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าระบบการทำงานที่ค่อนข้างล่าช้าของรัฐส่งผลให้ผู้ป่วยหลายคนได้รับการรักษาช้ากว่าที่ควร เมื่อเป็นเช่นนี้ กลุ่มอาสาสมัครจึงจำเป็นต้องขึ้นมาทำหน้าที่เป็นหนึ่งในด่านหน้า รับผิดชอบการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น และพาพวกเขาไปส่งให้ถึงมือบุคลากรทางการแพทย์โดยไวที่สุด
แต่อาสาสมัครไม่ได้มีจำนวนมากมายถึงเพียงนั้น
#อาสาสมัครด่านหน้ากับภาระที่เกินกำลัง
@143 ปฤษฎี สวัสดิ์ผล
เห็นในภาพนี้แล้วสลดใจมากๆครับ น่าสงสารทั้งคนป่วยและบุคลากร ที่กำลังทำงานเกี่ยวกับการเสี่ยงโรคระโควิดในช่วงนี้ จึงควรมีการเสริมเจ้าหน้าที่หรือจัดกลุ่มอาสาสมัคร ให้มาช่วยทำงานในหน่วยงานรัฐให้มากขึ้น โดยเฉพาะช่วงนี้บ้านเมืองไทยเรามีแต่ความขัดแย้งต่างๆนาๆ มีการชุมนุมประท้วงเกิดขึ้นหลายที่ จึงควรให้มีนโยบายในการวางแผนรับมือตลอดเวลา
แนวคิดปัญหาคอขวด เมื่อผมได้อ่านแล้ว ก็รู้สึกว่า ผู้เขียนเรียบเรียงจากภาษาอังกฤษที่ไม่ได้เรียบเรียงเป็นสำนวนไทย ดังนั้น จะเห็นว่าในต่างประเทศก็จะเกิดปัญหานี้หลายประเทศเช่นกัน โดยเฉพาะประเทศที่มีการระบาดสูง
สำหรับปัญหาในประเทศไทย ปัญหาเกิดจากสาเหตุหลายประการด้วยกัน จึงน่าจะใช้ขื่อว่า " กว่าจะมาเป็นคอขวด "
พิจารณาปัญหาจากภาครัฐ
ประการแรก ปัญหาที่เกิดจากตัวรัฐบาลเอง การประสานการทำงานระหว่างระหว่างรัฐบาลกับกลไกการทำงาน ไม่ประสานกันเนื่องจาก ทีมรัฐบาลที่บริหารประเทศ มีกลไกการทำงานสองขั้ว ขั้วหนึ่งเป็นฝ่ายตรงข้าม อีกขั้วหนึ่งยอมทำตามคำสั่งรัฐบาล ทำให้การทำงานไม่ลงรอยกันเท่าใดนัก
ประการที่สอง ทีมงานรัฐบาลผู้รับผิดชอบในเรื่องการควบคุมการระบาดไม่ตระหนัก และประมาทมากเกินไป
ประการที่สาม วิธีการจัดการการป้องกันโรคระบาดมีความล่าช้า ไม่รวดเร็วเนื่องจากระบบภาครัฐที่ล้มเหลว
ประการที่สี่ รัฐไม่สามารถทำงานเชิงรุกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อทำงานเชิงรุกก็พบว่ามีการแพร่ระบาดขยายวงกว้างมากเกินกว่าที่คาดไว้
ที่นี้มาพิจารณาปัญหาของภาคประชาชน
ประการแรก การสร้างข่าวเท็จ จากการนำเทคโนโลยีใหม่มาประยุกต์ทำให้ไม่อาจรู้ได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จเพื่อสกัดการทำงานของภาครัฐให้เกิดภาพความล้มเหลวอย่างมาก
ประการที่สอง เกิดการด้อยค่าวัคซีนที่รัฐบาลจำเป็นต้องสั่งมาขัดตาทับ นั่่นคือ คือซิโนแวค ในราคาโดสละ 500 บาท ต้น ๆ ไม่ใช่หนึ่งพันกว่าบาทตามที่มีการทำเฟคนิวส์กัน ยิ่งไปกว่านั้นยังปล่อยข่าวสารถึงการขาดประสิทธิภาพของวัคซีน ทำให้ประชาชนเลี่ยงที่จะฉีดวัคซีนโดยเฉพาะผู้สูงอายุซึ่งมีกลุ่มวัยรุ่น ลูกหลานจัดการเรื่องการจองเพื่อฉีดวัคซีน และพยายามยื้อเวลาเพื่อรอวัคซีนชนิดอื่นที่คิดว่ามีประสิทธิภาพกว่า สุดท้ายกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากไม่ได้ฉีดวัคซีนและติดเชื้อ (ยากที่จะรอด)
ประการที่สาม เด็ก กลุ่มวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบน้อย กลุ่มผู้เล่นการพนัน กลุ่มผู้เสพยาเสพติด กลุ่มแรงงานในแคมป์คนงานที่ชอบรวมกลุ่มดื่มสุรา เป็นกลุ่มที่เสี่ยงโดยจะนำเชื้อไปแพร่กระจายในสถานที่ต่าง ๆ เช่น ตลาด ห้างสรรพสินค้า ครอบครัว
ประการที่สี่ ความไม่ให้ความร่วมมือในการล็อกดาวน์ของกลุ่มผู้ให้บริการบางกลุ่มซึ่งยังคงฝ่าฝืนทำให้เกิดการติดเชื้อสู่ครอบครัว (ส่วนใหญ่จะติดเชื้อเสียเองและปิดตัวไปในที่สุด)
ผู้ติดเชื้อแล้วเสียชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ 80 ผู้ติดเชื้อแล้วตายมาจากกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว นอกจากนั้นมาจากผู้ติดเชื้อจากด่านหน้า ผู้ติดเชื้อแล้วไม่ใส่ใจรักษาหรือไม่รู้ว่าตัวเองติดและไม่ได้ตรวจเชื้อโดยเฉพาะสายพันธุ์เดลต้า
ปัญหาคอขวดจำเป็นต้องพิจารณาองค์ประกอบสภาพแวดล้อมทางสังคมด้วย ฉะนั้นนอกจากการแก้ไขปัญหาในด้านปริมาณสถานพยาบาล ปริมาณบุคลากรด้านการพยาบาลแล้ว การแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นก็เป็นสิ่งจำเป็น
นาย นนทพัทธ์ จิตตคาม 65423471148 Modlue1
เฮอร์เกร์ต จี ฮิกส์ Herbert G. Hicksให้ความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ว่า หมายถึงผลรวมปัจจัยต่างๆที่อยู่รอบๆองค์การ ว่า สงครามและสันติภาพ วัฒนธรรม จริบธรรม ทัศนคติ ทางการเมืองและเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ของประเทศทางพันธมิตร รูปแบบทางด้านประเพณี และวัฒนธรรม เศรษฐกิจท้องถิ่น ระดับประเทศ สหภาพแรงงาน ทัศนคติของประชาชน
นายคณิติน ศิริธีรวัฒนสุข
รหัสนักศึกษา 63423471142
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนา
จอร์จ เอฟ. แก้นท์ (George F. Gant) นักวิชาการชาวอเมริกันอธิบายแนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา (development administration) เป็นคนแรก ๆ โดยมีประสบการณ์มาจากการปฏิบัติงานที่ Tennessee Valley Authority (TVA.) ว่า การบริหารการพัฒนาเป็นคำที่ให้ความสำคัญกับหน่วยงานระบบการจัดการ และกระบวนการต่างๆ ซึ่งรัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนา พร้อมกันนี้ การบริหารการพัฒนายังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่กำหนดให้เกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ของการพัฒนาเพื่อทำการเชื่อมโยงและทำให้วัตถุประสงค์ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของชาติประสบผลสำเร็จ นอกจากนี้การบริหารการพัฒนายังช่วยปรับให้ระบบราชการและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ตอบสนองต่อการพัฒนาอีกด้วย ดังนั้น การบริหารการพัฒนาจึงหมายถึง การบริหารนโยบาย แผนงาน และโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
การบริหารการพัฒนาของแก้นท์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ “การบริหารงานภายใน (internal administration) หมายถึงว่าการบริหารงานใด ๆ มีความจำเป็นที่จะต้องจัดให้มีองค์การบริหารงานนั้น ๆ สามารถเป็นกลไกการบริหารที่ดีเสียก่อน จึงจำเป็นจะต้องจัดการภายในองค์การให้ดีให้มีประสิทธิภาพที่สุดซึ่งอาจทำได้ด้วยการจัดองค์การการบริหารงานบุคคลงานคลัง งานวางแผน การ
ตัดสินใจ ฯลฯ อันเป็นสาขาย่อยของรัฐประศาสนศาสตร์ให้ดีที่สุด ส่วนการบริหารงานภายนอก (external administration) ครอบคลุมถึงเรื่องต่าง ๆ ที่หน่วยงานนั้นติดต่อกับปัจจัยนอกทั้งหมด ทั้งนี้ด้วยการที่ค้นพบว่า ในการบริหารงานนั้น มิใช่แต่จะมุ่งถึงประสิทธิภาพของการบริหารภายในองค์การอย่างเดียว เพราะองค์การมีหน้าที่ต้องปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนให้เป็นผลสำเร็จอย่างดีที่สุด ซึ่งหมายถึงว่า นอกเหนือไปจากการจัดการภายในที่ดีแล้ว ยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบในการหาลู่ทางที่ดีติดต่อกับปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ให้ปัจจัยเหล่านั้นมาร่วมมือกับองค์การของตนเพื่อช่วยให้งานที่ได้รับมอบหมายสัมฤทธิผล ความสามารถในเชิงบริหารขององค์การที่จะบริหารปัจจัยภายนอกนี้ มีผลเกี่ยวกับความเป็นตายขององค์การส่วนมาก เพราะองค์การบริหารต้องมีส่วนปฏิบัติการติดต่อกับคนหรือปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ด้วยกันแทบทั้งนั้น
นายคณิติน ศิริธีรวัฒนสุข
รหัสนักศึกษา 63423471142
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนา
จอร์จ เอฟ. แก้นท์ (George F. Gant) นักวิชาการชาวอเมริกันอธิบายแนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา (development administration) เป็นคนแรก ๆ โดยมีประสบการณ์มาจากการปฏิบัติงานที่ Tennessee Valley Authority (TVA.) ว่า การบริหารการพัฒนาเป็นคำที่ให้ความสำคัญกับหน่วยงานระบบการจัดการ และกระบวนการต่างๆ ซึ่งรัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนา พร้อมกันนี้ การบริหารการพัฒนายังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่กำหนดให้เกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ของการพัฒนาเพื่อทำการเชื่อมโยงและทำให้วัตถุประสงค์ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของชาติประสบผลสำเร็จ นอกจากนี้การบริหารการพัฒนายังช่วยปรับให้ระบบราชการและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ตอบสนองต่อการพัฒนาอีกด้วย ดังนั้น การบริหารการพัฒนาจึงหมายถึง การบริหารนโยบาย แผนงาน และโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
การบริหารการพัฒนาของแก้นท์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ “การบริหารงานภายใน (internal administration) หมายถึงว่าการบริหารงานใด ๆ มีความจำเป็นที่จะต้องจัดให้มีองค์การบริหารงานนั้น ๆ สามารถเป็นกลไกการบริหารที่ดีเสียก่อน จึงจำเป็นจะต้องจัดการภายในองค์การให้ดีให้มีประสิทธิภาพที่สุดซึ่งอาจทำได้ด้วยการจัดองค์การการบริหารงานบุคคลงานคลัง งานวางแผน การ
ตัดสินใจ ฯลฯ อันเป็นสาขาย่อยของรัฐประศาสนศาสตร์ให้ดีที่สุด ส่วนการบริหารงานภายนอก (external administration) ครอบคลุมถึงเรื่องต่าง ๆ ที่หน่วยงานนั้นติดต่อกับปัจจัยนอกทั้งหมด ทั้งนี้ด้วยการที่ค้นพบว่า ในการบริหารงานนั้น มิใช่แต่จะมุ่งถึงประสิทธิภาพของการบริหารภายในองค์การอย่างเดียว เพราะองค์การมีหน้าที่ต้องปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนให้เป็นผลสำเร็จอย่างดีที่สุด ซึ่งหมายถึงว่า นอกเหนือไปจากการจัดการภายในที่ดีแล้ว ยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบในการหาลู่ทางที่ดีติดต่อกับปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ให้ปัจจัยเหล่านั้นมาร่วมมือกับองค์การของตนเพื่อช่วยให้งานที่ได้รับมอบหมายสัมฤทธิผล ความสามารถในเชิงบริหารขององค์การที่จะบริหารปัจจัยภายนอกนี้ มีผลเกี่ยวกับความเป็นตายขององค์การส่วนมาก เพราะองค์การบริหารต้องมีส่วนปฏิบัติการติดต่อกับคนหรือปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ด้วยกันแทบทั้งนั้น
Modul 2
นาย อิทธิณัฐ แซมกลาง
การบริหารการพัฒนาราชการไทย
วัตถุประสงค์ของการุพัฒนาระบบราชการ
1.เพื่อให้ราชการเป็นกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของรัฐบาล
2 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของประเทศในการแข่งขันระดับเวทีโลก
3. เพื่อสร้างและฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประชาชน และสังคมต่อระบบราชการ
4. เพื่อสร้างวัฒนธรรมและคุณค่าใหม่ในวงราชการ
5. เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยสรุป จุดมุ่งหมายสูงสุด คือ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเป็นอยู่ดี มีความสุข สังคมไทยมีเสถียรภาพ ประเทศชาติมีเกียรติภูมิ มีความสามารถสูงในการแข่งขันกับเวทีโลก
กรอบการปฏิรูประบบราชการ มีการจัดทำแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ เป็นไปในลักษณะองค์รวม เพื่อเปลี่ยนไปสู่ รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์ มีการวัดผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายอย่างเป็นรูปธรรม คือการทำงานเพื่อประชาชน วัดผลได้ มีความโปร่งใสวิธีการทำงานรวดเร็วและคล่องตัว
แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ใน 5 ด้าน
1.แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ
2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเป็นระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานและผลลัพธ์
3.แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล
4.แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย
5.แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม
เนื่องจากเป็นระบบใหญ่ จำเป็นต้องเร่งรีบดำเนินการปฏิรูปในทุกๆ ด้านพร้อมๆ กัน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงแก้ไขออกแบบใหม่ให้ดียิ่งขึ้น ได้ดำเนินการพร้อมกันทั้ง 5 ด้าน และปรับปรุงให้เหมาะสมตามสถานการณ์
ด้านจุลภาค แนวทางการพัฒนาการบริหารอาจครอบคลุมถึงการพัฒนาโครงสร้างกระบวนการ และพฤติกรรมทางการบริหาร
- เราอาจจะทำการวิเคราะห์วิจัยเพื่อดูว่าโครงสร้างทางการบริหารในปัจจุบันเอื้อหรือขัดขวางการบริหารการพัฒนามากน้อยเพียงใด ยกตัวอย่างเช่น
จากการศึกษาในอินเดียพบว่า ลักษณะทางโครงสร้างของระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นสายการบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทำและระบบกฎเกณฑ์ ล้วนแต่ไม่เอื้อต่อการบริหารการพัฒนาทั้งสิ้น จะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการซึ่งเป็นแนวความคิดของประเทศตะวันตกและใช้ได้ผลในประเทศเหล่านั้น แต่เมื่อนำมาประยุกต์ในประเทศที่กำลังพัฒนากลับไม่ได้ผล หรือได้ผลแต่ไม่เต็มที่ และยิ่งประเทศที่กำลังพัฒนาเน้นโครงสร้างระบบราชการสมัยใหม่เป็ นกรอบในการพัฒนามากเท่าใด ก็ยังท าให้รัฐบาลและมวลชนในประเทศที่กำลังพัฒนายิ่งแยกกันมากขึ้นเพียงนั้น ผลที่ตามมาก็คือ ความแตกแยกการก่อการร้ายและคตินิยมดั้งเดิมที่เน้นความรุนแรงขึ้น
>แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริหารอาจพิจารณาได้เป็นหลายแนวทาง
แนวทางที่หนึ่ง ก็คือ ความพยายามที่จะทำให้เส้นทางเดินของงานสั้นเข้าทั้งแนวตั้งและแนวนอน ทั้งนี้ก็เพื่อประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร
แนวทางที่สอง ก็คือ การพยายามทำงานให้ง่ายเข้า
แนวทางที่สาม ก็คือ การกระจายอำนาจออกไปยังหน่วยต่างๆ ที่อยู่เบื้องล่างเพื่อลดความแอดัด ของภารกิจของงานที่ส่วนกลาง (Deconcentration) และบางทีก็มอบอำนาจให้หน่วยล่างอย่างเด็ดขาดไปเลย (devolution) อย่างไรก็ดี ก่อนที่จะกระจายอำนาจไปยังเบื้องล่างนั้นหน่วยงานพัฒนาจำเป็น จะต้อง รวมอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้เสียก่อน มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาในการติดตามและประเมินผลงานในภายหลัง
พัฒนาการของทฤษฎีองค์การที่แบ่งเป็น 3 ยุค คือ
1).ยุคคลาสสิก
2).ยุคนีโอคลาสสิก
3).ยุคสมัยใหม่
1.ทฤษฎีองค์การในยุคคลาสสิก (Classical Organization Theory) เป็นยุคเริ่มต้นของการศึกษาองค์การ แนวคิดหลักของยุคนี้คือความพยายามในการแสวงหาหลักการทำงานและหลักการบริหารที่ดีที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหาร
ทฤษฎีสำคัญๆในยุคนี้ เช่น
-การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ของเฟดเดอริก ดับเบิลยู เทเลอร์
-หลักการบริหารของกุลลิค-เออร์วิค
-องค์การตามระบบราชการของแมกซ์ เวเบอร์
2.ทฤษฎีองค์การยุคนีโอคลาสสิก (Neoclassical Organization Theory) เป็นยุคที่นักวิชาการออกมาวิจารณ์แนวคิดในยุคแรก เนื่องจากแนวคิดยุคแรกให้ความสำคัญกับ หลักการทำงานและการการบริหารงานมากเกินไป โดยละเลยคนในองค์การ
>ยุคนีโอคลาสสิกจึงเสนอว่า การจะให้องค์การมีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพจะต้องให้ความสำคัญกับคนในองค์การทั้งในเรื่องของจิตใจ ความต้องการ และพฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มในองค์การ
>ทฤษฎีองค์การในยุคนี้จะมีจุดหลักอยู่ที่นักทฤษฎีในกลุ่มมานุษยนิยม (Humanism) เช่น เอลตัน เมโย /อับราฮัม มาสโลว์ /เฮอร์เบิร์ต ไชม่อน/แมรี่ ปากเกอร์ ฟอลลเลต และคนอื่นๆอีกมาก
**โดยทฤษฎีที่นำเสนอส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของคน**
3.ทฤษฎีองค์การยุคใหม่ (Modern Organization Theory) เป็นแนวคิดที่มองว่าทฤษฎีใน 2 ยุคแรกเป็นการมององค์การในระบบปิด (Closed Perspective) คือไม่สนใจสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
>ทฤษฎีองค์การยุคใหม่มองว่าองค์การนั้นอยู่ภายใต้สภาวะแวดล้อมและสิ่งแวดล้อมมีผลอย่างยิ่งต่อองค์การและการบริหารงานในองค์การ ดังนั้นการศึกษาองค์การจึงควรศึกษาในระบบเปิด (Open Perspective)
ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ ประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตาม การตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตาม ความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ที่ กล่าวมาแล้ว คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เห็นชอบตามแผนปฏิรูประบบ บริหารภาครัฐซึ่งกำหนดให้มีการกำหนดปฏิรูปราชการด้วยแผนงานหลัก 5 แผน คือ 1) แผนการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจและการบริหารงานภาครัฐ 2) แผนการปรับเปลี่ยนงบประมาณการเงินและการพัสดุ 3) แผนการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารบุคคล 4) แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย 5) แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นกิจกรรมสำคัญของแผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและ วิธีการบริหารงานของภาครัฐ ซึ่งกำหนดว่าภาครัฐจะต้องเปลี่ยนแนวทาง การบริหารไปสู่การบริหาร ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยยึดประชาชนเป็นเป้าหมายหลักในการทำงาน การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็น เครื่องมือการบริหารที่มาพร้อมกับแนวคิดการบริหารภาครัฐแนวใหม่(New public management) ที่ต้องคำนึงถึงประชาชนและผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อให้การทำงานของภาครัฐ มุ่งเน้นผลลัพธ์ของงานมากกว่าเน้นปัจจัยนำเข้ากระบวนการทำงานและกฎระเบียบที่เคร่งครัด โดย จะมีการวัดผลอย่างมีรูปธรรม การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ให้ความสำคัญกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน และการกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกัน รวมถึงการ กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่ชัดเจนในการวัดความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานเพื่อให้การทำงาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความรับผิดชอบต่อประชาชน และเกิดความคุ้มค่าในการใช้ภาษีของ ประชาชนและงบประมาณแผ่นดิน
5.3 จงกล่าวถึงพัฒนาการบริหารของระบบราชการไทยรวมทั้งภาระกิจของการพัฒนาเพื่อการบริหาร การบริหารการพัฒนาราชการไทย การบริหารเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่นำมาซึ่ง ความสาเร็จโดยเฉพาะการพัฒนากระบวนการหรือวิธีการต่างในสมัย เพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลง โลกไร้พรมแดนที่เรียกว่าโลกาภิวัตน์ การติดต่อสื่อารไปมาได้เร็ว ความต้องการคุณภาพของสินค้า และบริการของลูกค้าที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ นั่นเอง แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการบริหารองค์การ อย่างมากทั้งภาคธุรกิจและระบบราชการ ซึ่งเรียกว่าการบริหาร โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ดร.สัญญา เคณา ภูมิ 2555 : 132 - 133) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ผลเป็นเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อให้ เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศณ์และวิธีการบริหารงานให้เปลี่ยนไปจากเดิมให้ความสำคัญต่อ ทรัพยากรหรือปัจจัยนำเข้า (input) เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน โดยหันมาเน้นถึงวัตถุประสงค์ และสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินงานทั้งในแง่ของผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) และ ความคุ้มค่าของเงิน (Value for money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและสร้างความพึงพอใจให้แก่ ลูกค้าและผู้บริการ การบริหารราชการแบบเดิมให้ความสาคัญกับปริมาณทรัพยากรนำเข้า ได้แก่จำนวน งบประมาณอัตรากำลัง อาคารสถานที่และวัสดุครุภัณฑ์ต่างๆมีการใช้กฎระเบียบที่รัดกุมควบคุมการ ปฏิบัติราชการมิให้ราชการใช้ดุลยพินิจมากเกินไป รวมถึงมีกระบวนการทำงานที่ลดหลั่งตามสายการ บังคับบัญชาทำให้บริการที่เป็นผลผลิตของระบบราชการมีต้นทุนสูงและประชาชนผู้รับบริการไม่ พอใจบริการที่ล่าช้าไม่สะดวก การมุ่งสัมฤทธิ์ผล (Results Based Management-RBM) เป็นเครื่อง การบริหารที่มาพร้อมกับแนวคิดการบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ซึ่งมี การนำมาใช้กับภาครัฐและภาคเอกชนในหลายประเทศทั้งหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศในแถบเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ และฮ่องกง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 “การ บริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ต้องการของประชาชน แต่ในขณะเดียวกันก็อำนวยความสะดวกให้สมาชิกขององค์การมีความ เจริญเติบโตไปพร้อมๆกันด้วย 2 แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริหาร แนวทางการพัฒนากระบวนการการบริ หารอาจพิจารณาได้เป็นหลายแนวทาง แนวทางที่หนึ่ง ก็คือความพยายามที่จะทำให้เส้นทางเดินของงานสั้นเข้าทั้งแนวตั้งและแนวนอน ทั้งนี้ก็เพื่อประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร แนวทางที่สอง ก็คือ การพยายามทำงานให้ง่ายเข้า แนวทางที่สาม ก็คือ การกระจายอำนาจออกไปยังหน่วยต่างๆ ที่อย่เบื้องล่างเพื่อลดความแออัดของภารกิจของงานที่ส่วนกลาง (Deconcentration) และบางทีก็มอบอำนาจให้หน่วยล่างอย่างเด็ดขาด ไปเลย (devolution) อย่างไรก็ดี ก่อนที่จะกระจายอำนาจไปยังเบื้องล่างนั้นหน่วยงานพัฒนาจำเป็น จะต้อง รวมอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้เสียก่อน มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาในการติดตามและ ประเมินผลงานในภายหลัง 3 การพัฒนาพฤติกรรมทางการบริหาร จากการศึกษาในอินเดียเกี่ยวกับลักษณะทาง พฤติกรรมของระบบราชการอัน ได้แก่ การไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนตัว ความมีเหตผุลและการมุ่งปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ พบว่าการไม่คำนึงถึงเรื่องส่วนตัว มีส่วนเอื้อต่อ การปฏิบัติงานให้สมัฤทธิผล (การปฏิบัติงานให้ สมัฤทธิผลเป็นดรรชนีหนึ่งของความมุ่งมั้นในการพัฒนาประเทศหรือการบริหารการพฒันา) และความมีเหตุผล มีส่วนเอื้อ ต่อการเปลี่ยนแปลง การปฏิบัติงานให้สมัฤทธิผล และการยอมให้ประชสชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ(ความเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานให้สัมฤทธิผลและการยอมให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเป็นดรรชนีของการบริหารการพัฒนาเช่นเดียวกัน) แต่การมุ่งปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์กลับไม่เอื้อดรรชนีของการบริหารมิใช่สูตรสำเร็จที่ลอกเลียนกันได้อย่างง่ายๆทั้งในแง่กรอบ แนวความคิด ระเบียบวิธีวิจัย เละการตีความข้อมลู ตรงกัน ข้าม พฤติกรรมการพฒันา ไม่พฒันา หรือที่เรียกว่าความมุ่งมั่นในการพฒันาประเทศนั้นอาจจะสืบเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมนโยบายการ บริหารโครงสร้างทางการบริหาร และกระบวนการการบริหาร ตลอดจนภูมิหลัวทางสังคมเศรษฐกิจของ ผ้ปูฏิบัติงานเองก็ได้
ประการที่สี่ การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารอาจจะพิจารณาในแง่ของขนาดขององค์การว่า ขนาดไหนจึงจะเหมาะสมกับภารกิจที่รับผิดชอบอยู่ นั้นก็คือ จะต้องไม่ใหญ่โตจนเกินไปจนยากแก่การ บริหารหรือไมเ่ล็กจนเกินไปจนทำอะไรไม่ได้ ประการที่ห้า การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารเพื่อรองรับการบริหารการพัฒนาควรจะต้อง เน้นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เฉพาะอย่างยิ่งปรัชญาการบริหารการ พัฒนาก็คือ ประชาธิปไตยแบบรากหญ้า (grass roots democracy) หรือประชาธิปไตยแบบรากข้าว (rice roots democracy) ซึ่งตามความเห็นของ เชอรี่ อาร์.อาร์นสไตน์ (Sherry R. Arabstein) นั้นการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของประชาชนก็คือ จะต้องมีอำนาจควบคุมการดำเนินงานและการจัดการ โครงสร้างการพัฒนาอย่างเต็มที่ด้วยตนเอง ประการที่หก การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารควรเน้นการประสานงานในแนวนอนเก่าๆ กับในแนวตั้งเนื่องจากการบริหารการพัฒนาจำเป็นต้องอาศยัความร่วมมือท้ังจาก สหสาขาวิชาสหอาชีพและสหสถาบับฉะนั้นการประสานงานโดยอำนาจบังคับบญัชาอาจจะต้องเสริม ด้วยการประสานงานโดยการบริหารเพื่อการพฒันา การแสวงหาความเห็นพ้องต้องกันระหว่างฝ่ายสาย ช่วยอำนวยการและฝ่ายสายงานหลัก การประสานงานโดยการปล่อยหรือขยักทรัพยากรเอาไว้ การ ประสานงานโดยการเจรจาประนีประนอม และการประสานจากเบื้องล่างซึ่งประชากรเป้าหมายได้รับ ความช่วยเหลือจากหลายๆ หน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น ในจาเมกานั้นมีหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ แก่ชาวนาอยู่ถึง 43หน่วยงาน ประการที่เจ็ด การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหารควรทำไปพร้อมๆ กับการออกแบบงาน ซึ่ง การออกแบบงาน (work or job design) ก็คือการกำหนดรายการจำเพาะเกี่ยวกัย เนื้อหาวิธีปฏิบัติงาน และความสัมพันธ์ระหว่างงานต่างๆ เพื่อที่จะสามารถสนองตอบต่อความต้องการทั้งทางด้านองค์การ เทคโนโลยีสังคมและความต้องการส่วนตัวของผ้ปูฏิบัติงานเองและวัตถปุระสงค์ของการออกแบบงาน ก็เพื่อให้บคุคลมีมูลเหตุจูงใจในการทางานด้วยความพึงพอใจและมีผลงานที่ดีอันจะเป็นประโยชน์ตอ่การ พฒันาประเทศ ประการที่แปด การพฒันาโครงสร้างทางการบริหาร ควรคำนึงหลังการบริหารงานบุคคล และ การแรงงานสัมพันธ์ (PAIR PA = Personnel Administration, IR = Industrial Relations) ทังนี้เพราะ ในระหว่างที่มีการนำเอาโครงการพฒันามาปฏิบัตินั้นหากมีการหยุดชะงัก หรือการนัดหยุดงานย่อมทำ ให้กระทบกระเทือนต่อตารางเวลาและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก ประการสุดท้าย การพฒันาโครงสร้างทางการบริหาร ควรยึดแนวทางของ “องค์การกลยุทธ” (Strategic organization) นั่นก็คือ การจัดโครงสร้างและภารกิจขององค์การที่สามารถสนองความ
5.2 แนวทางการพัฒนาในระดับจุลภาคมีอะไรบ้าง ด้านจุลภาค แนวทางการพัฒนาการบริหารอาจครอบคลุมถึงการพัฒนาโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมทางการบริหาร 1 แนวทางการพัฒนาโครงสร้างทางการบริหาร อาจทพได้หลายวิธี ประการแรก เราอาจจะทพการวิเคราะห์วิจัย เพื่อดูว่าโครงสร้างทางการบริหารในปัจจุบัน เอื้อหรือ ขัดขวางการบริหารการพัฒนามากน้อยเพียงใดยกตัวอย่างเช่นจากการศึกษาในอินเดียพบว่าลักษณะ ทางโครงสร้างของระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นสายการบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทำและระบบ กฎเกณฑ์ ล้วนแต่ไม่เอื้อ ต่อการบริหารการพัฒนาทั้งสิ้นจะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการซึ่งเป็น แนวความคิดของประเทศตะวันตกและใช้ได้ผลในประเทศเหล่านั้น แต่เมื่อนำมาประยุกต์ในประเทศที่ กำลังพัฒนากลับไม่ได้ผล หรือได้ผลแต่ไม่เต็มที่ และยิ่งประเทศที่กำลังพัฒนาเน้นโครงสร้างระบบ ราชการสมัยใหม่เป็นกรอบในการพัฒนามากเท่าใด ก็ยังทำให้รัฐบาลและมวลชนในประเทศที่กาลัง พฒั นายิ่งแยกกันมากขึ้น เพียงนั้นผลที่ตามมาก็คือ ความแตกแยกการก่อการร้ายและคตินิยมดั้วเดิมที่ เน้นความรุนแรงขึ้น ประการที่สอง หลัง จากวิเคราะห์วิจัย แล้ว ถ้าพบว่าโครงสร้างทางการบริหารเดิมยังไม่เพียงพอ ต่อการปฏิบัติภารกิจของการบริหารการพฒันาได้จำเป็นต้องสร้างหรือพัฒนา“หน่วยงานสร้างชาติ”เพื่อ รับผิดชอบงานใหม่ๆเช่น การพฒันาหน่วยงานวางแผนการพฒันาอตุสาหกรรม การดูแลรัฐวิสาหกิจ การยกระดับผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ การปรับปรุงโครงข่ายการขนส่งและการ สื่อสารและการปฏิรูประบบการศึกษา ประการที่สามการพฒันาโครงสร้างทางการบริหารอาจจะทำได้โดยการจัดองค์การ แมททริกซ์ (Matirx organization) กล่าวคือ เป็นรูปแบบหนึ่งขององค์การที่ประกอบด้วยทีมผู้เชี่ยวชาญ เพื่อดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงในขณะเดียวกันก็ได้รับการสนับสนุนจากผ้บูริหารที่คอย ทำหน้าที่เป็นผ้ปูระสานงานมากกว่าผู้บังคับบัญชาองค์การแมททริกซ์ดั่งกล่าวนี้บางทีก็เรียกว่าองค์การ โครงการพฒันา (Project organizations) ซึ่งโครงการพฒันานี้อ้าจจะเป็นโครงการพฒันาเอกเทศ เช่น โครงการพฒันาหบุเขาเทนเนสซี โครงการพฒันา ซึ่งพยามยามดึงเอาจุดการตัดสินใจให้ไปอยู่ในระดัยที่ ต่ำสดุเท่าที่จะทำได้
บริหารโครงการ ตลอดจนการกำหนดหน้าท่ีขององค์การในการบริหารงานให้บรรลุผลสาเร็จ หลัง สงครามโลกครั้งท่ี 2 ในปี ค.ศ.1947 สหรัฐอเมริกาได้เข้าไปช่วยเหลือฟื้นฟูประเทศต่างๆ ในยุโรปให้ ฟื้นตัวจากสงคราม โดยใช้แผนการมาร์แชล (Marshal Plan) มีจุดมุ่งหมายคือ ให้ยุโรปมีความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ เพื่อสามารถต่อต้านการรุกรานจากฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ จนกลายเป็นประเทศ ท่ีพัฒนาในเวลาต่อมา ซึ่งความสาเร็จของการพัฒนาประเทศต่างๆ ในยุโรปนี้ได้ถูกนำเอาไปเป็นตัวอย่างในการพัฒนาประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาอื่น ในเอเชีย อัฟริกาและ ลาตินอเมริกาในเวลาต่อมา โดยมีองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN) มีบทบาทสาคัญ ในการให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ด้วย ซึ่งการช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในยุโรปท่ีเข้ามาให้ความช่วยเหลือนี้มาในรูปแบบของการให้ เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ให้เงินช่วยเหลือแบบให้เปล่า รวมท้ังการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ โดย ประเทศต่างๆ ท่ีได้รับการช่วยเหลือได้เร่ิมมีแผนพัฒนาฯ เป็นเครื่องมือเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ สำหรับประเทศไทยได้เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2504 และได้ยึดเอาแนวคิดในการพัฒนาประเทศจากประเทศท่ีพัฒนาแล้วเป็นตัวแบบอุดมคติเพื่อมุ่ง พัฒนาไปถึงจุดหมายน้ัน
นายธนาวุฒิสีหะนาม 63423471004 5.1 จงกล่าวถึง การบริหารเพือการพัฒนาในยุคต่างๆ และรูปแบบของการพัฒนาการบริหาร แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาเร่ิมเป็นที่ยอมรับเมื่อประมาณต้นทศวรรษ 1950’s โดยมีจุดกาเนิดมาจากวิวัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีการพัฒนาองค์ความรู้จากการ บริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ (comparative public administration) และเศรษฐศาสตร์การพัฒนา (development economic) เพื่อมุ่งให้วิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือบริหารรัฐกิจมีหลักการที่เป็น สากล และมุ่งหาระบบบริหารงานของประเทศกาลังพัฒนาเพื่อช่วยให้การพัฒนาประเทศบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ โดยมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กัน ในหลายมิติ (multidimensional) คือ การพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาแบบสหวิทยาการ (อุทัย เลาหวิเชียร,2548 : 92) การบริหารการพัฒนาตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า ใน ฐานะท่ีเป็นศาสตร์หรือสาขาวิชา และ ในฐานะท่ีเป็นกิจกรรม หรือกระบวนการ ซึ่งความหมายท้ัง 2 ลักษณะ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ การบริหารการพัฒนา ในฐานะที่เป็นศาสตร์หรือสาขาวิชาน้ัน เป็นความรู้ที่ได้มาจากการสังเกต การศึกษาและการวิจัยจาก กิจกรรมหรือการปฏิบัติในโลกท่ีเป็นจริง เป็นความรู้หรือวิชาต่างๆ ท่ีมีลักษณะเป็นระเบียบเป็น ระบบ นาไปปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาหน่วยงาน องค์การหรือสังคมตามสถานการณ์ จนได้รับ การยอมรับว่าเป็นสาขาหน่ึงของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ในช่วง ค.ศ. 1960 จนถึงปัจจุบัน สาหรับการบริหารการพัฒนาในฐานะท่ีเป็นกิจกรรมหรือกระบวนการเร่ิมตั้งแต่ในปี ค.ศ.1930 – 1939 เป็นช่วงเวลาเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกาในยุคสมัย ประธานาธิบดี ธีโอดอร์ รูสเวลท์ ได้ให้ความสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก มีการริเร่ิมโครงการพัฒนาต่างๆ การออกกฎหมายเก่ียวกับธนาคาร การปฏิบัติการทางการเงิน การให้หลักประกันด้านสวัสดิการทางสังคม และสุขภาพอนามัยของประชาชน จนประสบความสาเร็จ นับเป็นแบบอย่างในการพัฒนาแก่ประเทศอื่นๆ ในเรื่องการกาหนดนโยบาย การวางแผน การ
ปัจจัยหลักในการพัฒนาการบริหาร(ต่อ)
2. การพัฒนาด้านวัสดุ (พัสดุ)ในประเทศที่กำลังพัฒนางานพัสดุมักไม่ค่อยได้รับความสนใจจากผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ในระดับผู้ปฏิบัติงานต่างหากที่จะต้องร่างหนังสือ พิมพ์หนังสือ กรอกแบบฟอร์ม ติดต่อขอใช้สถานที่ จัดโต๊ะเก้าอี้ ฯลฯ ผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้ตรวจตรา ควบคุม สั่งการลงนามในหนังสืออนุมัติ ผู้ที่รู้ดีว่าอะไรขาด อะไรเสีย ก็คือเจ้าหน้าที่ในระดับผู้ปฏิบัติงานชั้นสูง
3. การพัฒนาด้านการเงิน
การพัฒนาด้านการเงิน หมายถึง การปรับปรุงให้มีการใช้เงินที่หน่วยงานมีอยู่หรือที่จะได้รับมาให้ได้ผลดีที่สุดแก่การบริหารของหน่วยงานนั้น ดังนั้นเป้าหมายของการพัฒนาการเงินจึงมีเพื่อ
- พัฒนาทัศนคติและทักษะของผู้บังคับบัญชาและเจ้าหน้าที่การเงินให้เห็นความสำคัญของการใช้เงินเป็นเครื่องมือในการบริหาร
- พัฒนาความสามารถของเจ้าหน้าที่การเงินให้ทำหน้าที่การเงินได้โดยสมบูรณ์นอกเหนือจากการทำบัญชี
- พัฒนาความสามารถของเจ้าหน้าที่การเงินให้ทำบัญชีได้ทันสมัย ง่ายต่อนักบริหารจะพิจารณาสถานภาพการเงินได้สะดวกกว่าที่เป็นอยู่
- พยายามใช้วิธีการเบิกจ่ายเงินที่สะดวกแก่หน่วยงาน ข้าราชการ พนักงานเจ้าหน้าที่และลูกหนี้ต่างๆ ไม่ได้ล่าช้าหน่วงเหนี่ยวเป็นผลเสียหายแก่ทางราชการ
สำหรับวิธีการพัฒนาด้านการเงินสามารถใช้การฝึกอบรม พัฒนาระบบบัญชี ระบบเบิกจ่าย และการงบประมาณให้ทันสมัยและสอดคล้องกันที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การจัดหาเครื่องใช้ที่ทันสมัยมาใช้ในหน่วยงานการเงินทุกระดับ เช่น เครื่องคิดเลข พิมพ์ดีด เครื่องถ่ายสำเนา ฯลฯ
4. การพัฒนาด้านการจัดการ
การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการที่นำคน เงิน และวัสดุมาดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ เรียกได้ว่า การจัดการเป็นเครื่องมือที่จะใช้ในการกระทำให้เกิดงานขึ้น ความหมายของการจัดการกว้างขวางมากคลุมไปถึงการดำเนินการทุกอย่างที่ฝ่ายบริหารจัดทำทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม หรือไม่น่าจะเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของงานเลยก็ตามการจัดการที่ดี หมายถึง การดำเนินการต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานขององค์การเป็นผลสำเร็จ ส่วนการจัดการที่ไม่ดีย่อมหมายถึงการดำเนินการเพื่อประโยชน์อย่างอื่น ๆ หรือโดยอ้อมค้อมมากกว่าจะตั้งใจทำงานให้สำเร็จไป
5. การพัฒนาด้านการวางแผน
- ส่วนใหญ่ประเทศที่กำลังพัฒนามีแผนพัฒนาระดับชาติ
- แผนพัฒนาระดับชาติป็นแผนกว้าง ๆ ต้องอาศัยแผนย่อยเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุผลสำเร็จ
- อุปสรรคข้อหนึ่งที่ทำให้แผนพัฒนาระดับชาติไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควรเป็น
เพราะหน่วยงาน ขาดผู้มีความรู้ความสามารถในด้านการวางแผน แผนงานจึงถึง
กำหนดมาอย่างมีข้อบกพร่องทำให้เกิดการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอยู่ตลอดเวลา
- ข้อแก้ไขจึงควรรับผู้มีความรู้ความสามารถในด้านการวางแผนเข้ามาประจำทุกหน่วยงานที่สำคัญ ๆ และมีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้เข้าใจถึงความสำคัญของการวางแผน
6. การพัฒนาด้านการกำหนดนโยบาย
- ในประเทศกำลังพัฒนาข้าราชการประจำจะเป็นผู้ที่มีความเป็นกลางในทางการเมือง คือ การทำหน้าที่บริหารให้สำเร็จตามนโยบายที่วางไว้
- แต่ในความเป็นจริงแล้วข้าราชการประจำจะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลอยู่มากพอสมควรใน
ด้านการกำหนดนโยบาย เพราะข้อมูลและข่าวสารส่วนใหญ่จะมาจากข้าราชการประจำ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นที่ปรึกษาของฝ่ายบริหารประเทศ
-ฝ่ายบริหารจึงควรจัดตั้งหน่วยงานที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อที่ฝ่ายบริหารจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและขณะเดียวกันต้องหาวิธีการในการกำหนดนโยบายที่ได้ประสิทธิผลให้มาก
- วิธีการในการกำหนดนโยบายนี้เป็นวิธีหาทางเลือกที่ได้ผลที่สุดโดยอาศัยหลัก
เหตุผลเป็นเกณฑ์ เช่น การวิเคราะห์การลงทุนและผลได้ การวิจัยการปฏิบัติการหรือระบบการทำงบประมาณแบบ PPBS เป็นต้น
ปัจจัยหลักในการพัฒนาการบริหาร
- ปัจจัยหรือตัวแปรหลักในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการบริหารให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่ คน วัสดุ เงิน การจัดการ การวางแผน และการกำหนด
นโยบาย
1) การพัฒนาการบริหารด้านคน
การพัฒนาคนถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุด เพราะว่าการใช้ปัจจัยอื่น ๆ ทุกอย่างจะสำเร็จได้ผลก็อยู่ที่ความสามารถของบุคคลที่จะทำให้ได้เท่านั้น
• การที่มีคนหย่อนสมรรถภาพหรือมีปริมาณไม่เพียงพอกับงาน หรือไม่มีความรู้ใน
หน้าที่การงาน ย่อมไม่อาจทำให้เกิดผลงานเท่าที่ควร
• สำหรับประเทศที่ด้อยพัฒนาเป็นที่ยอมรับกันอยู่ว่ามีปัญหาอย่างมากในเรื่องการ
ขาดแคลนผู้มีความรู้ความสามารถในการทำงาน
- หลักการของการบริหารงานบุคคลสมัยใหม่ การรับคนเข้าทำงานจะเน้นความรู้ความสามารถในการทำงาน แต่เนื่องจาก
ประเทศที่กำลังพัฒนามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง อันมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์การ การนำ
วิทยาการสมัยใหม่เข้ามาใช้หรือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
- สิ่งเหล่านี้อาจมีผลทำให้คนที่ทำงานในองค์การขาดความรู้ความสามารถหรือมีพฤติกรรมที่ไม่ช่วยให้การทำงานมีผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าจะเป็น
หน้าที่ของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา แต่ก็มีข้อจำกัดบางอย่างที่ไม่อาจทำได้ ดังนั้นภาระหน้าที่รับผิดชอบจึงตกอยู่กับองค์การแต่ละองค์การที่จะหาหนทางในการที่จะพัฒนาคนของตนให้มีความรู้
ความสามารถในการทำงาน
-การพัฒนาความรู้จะมุ่งพัฒนา 2 เรื่องใหญ่ คือ
1.การพัฒนาความรู้ทางเทคนิค
เพื่อให้คนในองค์การมีความรู้ความสามารถเฉพาะอย่างให้ทันสมัยอยู่เสมอจึงจะสามารถทำงานในหน้าที่ของตนได้ดี
2.การพัฒนาความรู้ทางการบริหารเพื่อให้คนในองค์การได้มีหลักและกลวิธีการในการบริหารงานที่ทันต่อยุคสมัยตลอดเวลา
- วิธีการพัฒนาบุคคล
มีอยู่ 3 ประการคือ
• การให้การศึกษา
• การฝึกอบรม
• การให้ไปดูงาน (ทั้งภายในและภายนอกประเทศ)
รูปแบบในการพัฒนาแบบบริหาร
- เป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาการบริหาร สามารถทำได้ 3 วิธี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปหรือการวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในกรอบของโครงสร้างที่มั่นคงแล้วการต่อต้านจะเกิดขึ้นจากผู้นำ ถ้ามลักษณะที่จะทำลายโครงสร้างที่มีอยู่รูปแบบในการพัฒนาแบบบริหาร
2. การปฏิวัติ เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างขนาดใหญ่และรวดเร็วครอบคลุมทั้งในเรื่องโครงสร้างและค่านิยมที่ยึดถือนักปฏิวัติจะไม่ยอมให้มีการประนีประนอมหรือมีการเปลี่ยนแปลงค่อยเป็นค่อยไปโดยเด็ดขาด
3. การปฏิรูป เป้าหมายขั้นสุดท้ายของการปฏิรูปคือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและค่านิยมที่มีอยู่ แต่ลักษณะของการปฏิบัติจะอยู่ในกรอบของโครงสร้างที่มีอยู่
- นักปฏิรูปนิยมใช้การประนีประนอม เพื่อมิให้เกิดปัญหาขึ้นในส่วนรวม
การทำงานของภาครัฐในด้านการพัฒนา
• ในการทำงานของหน่วยงานของภาครัฐอาจจะทำงานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อาจมีสาเหตุดังนี้
• หน่วยงานเกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้าง กระสวนของพฤติกรรมของตนเอง มีกฎและวิธีในการทำงานเป็นของตนเอง และมีวัตถุประสงค์ในการทำงานของตนเอง อาจจะไม่ตรงกับเป้าหมายของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
• การที่ระบบคุณธรรมได้ถูกทดแทนไปโดยระบบอาวุโส เป็นผลให้หน่วยงาน
อาจได้ผู้บริหารงานที่ไม่มีความสามารถเพียงพอ
• การขยายอัตราคนทำงานโดยไม่คำนึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล
• การรับใช้ประชากรเฉพาะกลุ่มจนละเลยต่อเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ
ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้
1) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒั นาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากร เทคโนโลยแีละชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์ ด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ รวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหวังขององค์การและความต้องการของ
บุคคล ทั้งนี้รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ภายในองค์การด้วยและปฏิกิริยาโต้ตอบและความขัดแย้งดังกล่าวนี้นี่เองที่เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรม (ที่พัฒนาหรือไม่พัฒนา)ของบุคคล
น.ส. สรัญณัฎฐ์ 63423471003
แนวความคิดเรื่องการปฏิรูประบบบริหาร การปฏิรูประบบบริหาร คือ เครื่องมือของการพัฒนาการบริหารเพื่อแก้ไขระบบบริหาร ที่มีปัญหาหรือขาดประสิทธิภาพให้มีสมรรถนะที่จะปฏิบัติงานได้ทุกประเทศจึงมีการปฏิรูประบบบริหารอยู่ตลอดเวลา
• ประเทศที่กำลังพัฒนา
-มีปัญหามากมายเกี่ยวกับการบริหาร ได้แก่ การขาดสมรรถนะของระบบบริหารที่จะนำเป้าหมายการพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ
-สิ่งที่ถือเป็นเรื่องเร่งด่วนของประเทศเหล่านี้ก็คือ การแก้ไขระบบราชการให้มีสมรรถนะเพื่อการพัฒนาประเทศดังนั้น รัฐบาลในทุกประเทศจึงต้องอาศัยการปฏิรูประบบบริหารในลักษณะที่ต่อเนื่อง การจะอาศัยให้ระบบเปลี่ยนแปลงและปรับตัวไปตามธรรมชาติย่อมเป็นไปได้ยาก เพราะจะไม่ทันกับความต้องการของประชาชนที่ต้องพึ่งระบบราชการในเรื่องบริการสาธารณะและการพัฒนา
ระบบภาครัฐที่เป็นคอขวด
และในวันที่อาสาสมัครคือกำลังหลักในการช่วยเหลือประชาชน
ตั้งแต่เดือนเมษายนเป็นต้นมา การระบาดของโควิด-19 ระลอกที่ 3 ต่อระลอก 4 ส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล บุคลากรด่า
นหน้าทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เตียงเต็มจนล้นแทบทุกที่ ไม่สามารถจัดหาเตียงให้ผู้ป่วยได้ครบทุกราย และยังมีปัญหาอื่นๆ อีกมากมายเต็มไปหมด เมื่อบุคลากรของรัฐเริ่มจะรับภาระที่ล้นมือนี้ไม่ไหว กลุ่มอาสาสมัครจึงก้าวเข้ามาทำหน้าที่เป็นกำลังเสริมเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในจุดนี้ครับ
อย่างไรก็ตาม อาสาสมัครบางกลุ่มพบว่า พวกเขาไม่สามารถทำงานช่วยเหลือประชาชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบการดำเนินงานของรัฐนั้นค่อนข้างที่จะไม่เชื่อมโยงกันและมีกฎระเบียบมากเกินพอดี จึงไม่สามารถสนับสนุนอาสาสมัครได้ดีเท่าที่ควร ดังนั้น เมื่อทำงานจริงก็จะเกิดปัญหา“คอขวด (Bottle Neck)” ในกระบวนการทำงาน
#ปัญหาคอขวดอันล่าช้า
ปัญหาคอขวด คือ กระบวนการทำงานที่ล่าช้าจนเกิดงานสะสมและเสียเวลาทำงานโดยสูญเปล่า ทีมอาสาสมัครเส้นด้ายสามารถเข้าถึงตัวและหาเตียงให้ผู้ป่วยได้รวดเร็วกว่ารัฐในหลายๆ ครั้ง เนื่องจากเมื่อพวกเขาได้รับแจ้งก็จะรีบรุดไปหาผู้ป่วยทันที ขณะที่รัฐต้องการข้อมูลยืนยันก่อน เช่น ผลแล็บ จึงจะส่งเจ้าหน้าที่ไปดำเนินงานได้
ทว่าข้อมูลของหน่วยงานรัฐหลายส่วนไม่ได้เชื่อมกัน เมื่อจำเป็นต้องดึงมาใช้ก็ค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน อีกทั้งยังต้องการข้อมูลผลตรวจจากแล็บที่ได้รับการรองรับโดยรัฐเอง ซึ่งกว่าจะได้ผลแล็บก็ต้องใช้เวลานาน และไม่ใช่ทุกคนที่จะได้รับการตรวจอย่างทันท่วงที ส่งผลให้ผู้ป่วยหลายหมื่นรายเข้าถึงการรักษาได้ช้า เมื่อรับการรักษาช้าก็มีโอกาสเสียชีวิตมากขึ้น
แม้จะน่าเศร้าแต่เราต้องยอมรับว่า มีประชาชนเสียชีวิตเป็นจำนวนมากส่วนหนึ่งมาจากระบบอันล่าช้านี้
แน่นอนว่าการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลตารวดเร็วกว่าสายพันธุ์อื่น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าระบบการทำงานที่ค่อนข้างล่าช้าของรัฐส่งผลให้ผู้ป่วยหลายคนได้รับการรักษาช้ากว่าที่ควร เมื่อเป็นเช่นนี้ กลุ่มอาสาสมัครจึงจำเป็นต้องขึ้นมาทำหน้าที่เป็นหนึ่งในด่านหน้า รับผิดชอบการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น และพาพวกเขาไปส่งให้ถึงมือบุคลากรทางการแพทย์โดยไวที่สุด
แต่อาสาสมัครไม่ได้มีจำนวนมากมายถึงเพียงนั้น
#อาสาสมัครด่านหน้ากับภาระที่เกินกำลัง