1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926
2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950
3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970
4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970
5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา
1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926
2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950
3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970
4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970
5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา
Tom Burns แ ล ะ G.M. Stalker (1961) เ ขี ย น Mechanistic and Organic System ใน The Management of Innovation ว่ำในสภำพแวดล้อมที่ไม่เปลี่ยนแปลง (stable conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ mechanic ซึ่งยึดกฎระเบียบที่เป็นทางการ การสื่อสาร แบบแนวดิ่ง และใช้การตัดสินใจแบบใช้โครงสร้าง ขณะที่สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (dynamic conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ organic ซึ่งยืดหยุ่น การมีส่วนร่วม และ ขึ้นอยู่กับพนักงานในการกำหนดจุดยืนและความสัมพันธ์ เช่น ในการสร้างภาวะสร้างสรรค์ องค์การ แบบ organic ต้องการให้องค์การสนับสนุนเรื่องนวัตกรรม แนวคิดการจัดองค์การนี้สามารถ ประยุกต์ใช้ในการออกแบบองค์การให้มีประสิทธิภาพที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่คงที่หรือ เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะโต้แย้งทฤษฎียุคดั้งเดิมที่เน้นวิธีที่ดีที่สุดวิธีเดียว (one best way) หลายๆองค์การ ได้มีการปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างและการทางานให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น
Peter M. Blau และ W. Richard Scott (1962) ใน Formal Organization: A Comparative Approach ในหัวข้อ The Concept of Formal Organization กล่าวว่า ในทุก องค์การประกอบด้วยองค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยที่องค์การไม่เป็นทางการจะ สนับสนุนองค์การที่เป็นทางการในการสร้างปทัสถาน (norm) ในกำรปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้กำหนดไว้อยู่ ในกฎและระเบียบ และเป็นโครงสร้างทางสังคม (social organization) ซึ่งประกอบด้วย ความสัมพันธ์ทางสังคม (social relation) และความเชื่อและความสนใจร่วมกัน (shared belief and orientation) ในการสร้างแนวปฏิบัติร่วมกันในองค์การแนวคิดนี้ในผู้บริหารองค์การทั้งภาครัฐ และเอกชนจะต้องเข้าใจลักษณะขององค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อที่จะสร้างความร่วมมือร่วมใจกันในกำรบรรลุเป้าหมายองค์การที่กำหนดไว้
63423471003 สรัญณัฎฐ์ ค่ะ
การเปลี่ยนแปลงรัฐประศาสนศาสตร์แนวเก่าไปเป็นแบบแนวใหม่ ก็ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้านอยู่แล้ว เพราะการที่จะเกิดอะไรขึ้นใหม่หลายๆสิ่งย่อมกระทบด้วย รวมถึงบทบาท หน้าที่ในการบริหารด้วยเช่นเดียวกัน รัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นใหม่ก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพราะแต่ละยุคละสมัยมันไม่เหมือนกันเราจะปฏิบัติเช่นเดิมไม่ได้ เราต้องพัฒนาและก้าวไปให้มากขึ้นและพัฒนาหลายๆสิ่งหรือเปลี่ยนแปลงให้มีทิศทางที่ดีขึ้นเพื่อเข้ากับยุคสมัยนั้น
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
ผลการปฏิบัติงาน ทางด้านเศรษฐกิจ ความมั่งคั่งของประเทศอันเกิดจากการแข่งขันภายใต้อํานาจของตลาดเป็นตัวสะท้อนผลการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐ กิจของปีที่ผ่านมา การแข่งขันของธุรกิจภายในประเทศที่รุนแรงยิ่งส่งผลให้ ผู้ประกอบการในประเทศมีศักยภาพที่จะก้าวไปสู่การค้าระหว่างประเทศมาก ขึ้น การเติบโตของเศรษฐกิจภายในประเทศนําไปสู่การส่งออก หากพิจารณา ภายใต้เงื่อนไขที่ปราศจากมาตรการกีดกันทางการค้าใดๆ จะเห็นว่า การค้า ระหว่างประเทศ และการส่งออกเป็นตัวสะท้อนถึงความสามารถในการแข่ง ขันของผู้ประกอบการภายในประเทศ การเปิดเสรีทางการค้ายังเป็นแรง ดึงดูดและส่งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศมากขึ้น ในขณะที่การ เปิดสู่ตลาดภายนอก และการลงทุนในต่างประเทศจําเป็นต้องมีการบริหาร กองทุนรวมระหว่างประเทศ ที่สามารถกระจายความเสี่ยงในการลงทุนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดด้านผลการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ประ กอบด้วย 5 กลุ่มปัจจัยรอง ได้แก่ เศรษฐกิจภายในประเทศ (domestic economy) การค้าระหว่างประเทศ (international trade) การลงทุน ระหว่างประเทศ (international investment) การจ้างงาน (employment) และดัชนีราคา (prices) ในการประเมินตัวชีวัดด้านผลการปฏิบัติ งานทางด้านเศรษฐกิจ IMD มุ่งประเมินที่นโยบายส่งเสริมการออมของ ประเทศและการลงทุนภายในประเทศ การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศที่แท้จริง นโยบายเชิงรุกในการขยายการส่งออกสินค้า และบริการสู่ตลาดต่างประเทศที่ได้สมดุลกับการดึงดูดการลงทุนจากต่าง ประเทศ การจ้างงานในแต่ละสาขา รวมถึงพนักงานภาครัฐ อัตราการว่าง งาน ดัชนีค่าครองชีพและดัชนีราคาผู้บริโภค ผลการปฏิบัติงานทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศเป็นผลสัมฤทธิ์อันเกิดจากประสิทธิภาพของภาครัฐ ที่เป็นผู้กําหนดความสมดุลของนโยบายเศรษฐกิจระหว่างการเน้นมูลค่า เพิ่ม และการเน้นความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ และการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานที่ดี ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การวิจัยและ พัฒนา ทําให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการแข่งขันได้ของผู้ประกอบการ ภาคธุรกิจสามารถอยู่รอด มีรายได้ เติบโตโดยมีส่วนแบ่งตลาดที่ใหญ่ขึ้น สามารถนําผลกําไรสะสมมาลงทุนพัฒนาสินทรัพย์และกระบวนการ เกิด การจ้างงาน ประชากรมีมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้นและมีความผาสุก เกิดความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของประเทศ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวม ของประเทศมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นด้วย คะแนนของผลการปฏิบัติงาน
นายศรัณย์ สัธนานันต์ 63423471130
แนวทางการศึกษาและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหารงานของภาครัฐ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาธารณกิจ ซึ่งเป็นการดำเนินกิจกรรมในมิติต่าง ๆ ของภาครัฐอันส่งผลกระทบกับประชาชนหรือส่วนรวม ในภายหลังเรียกได้ว่าเป็นกา รบริหารรัฐกิจเพื่ออธิบายกระบวนการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ของภาครัฐในการการดำเนินงานสาธารณกิจ ดังนั้นองค์ความรู้ ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจและกระบวนการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐในภาคปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงสามารถถูกนำไปทดสอบและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐได้ (เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์,2554: 5-6) ส่งผลให้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์เกิดการท้าทายและทบทวนองค์ความรู้อยู่บ่อยครั้งตามบริบทการบริหารที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุคสมัย เพื่อให้เข้าใจในองค์ความรู้ของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ในบทความวิชาการนี้จึงเสนอประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ดังนี้
1.พัฒนาการและความเป็นมาของการศึกษารัฐประศานศาสตร์หากพิจารณาถึงข้อเท็จจริงเชิงประวัติศาสตร์จะพบว่าการบริหารงานภาครัฐหรือการบริหารรัฐกิจ มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานควบคู่ไปกับการพัฒนาอารยธรรมของโลก โดยมีระบบการปกครองและระบบการบริหารดำเนินไปอย่างเป็นพลวัต จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรุ่งเรืองของอาณาจักรต่าง ๆ ในอดีต เช่น อารยธรรมอียิปต์ในการสร้างพีระมิดที่ต้องอาศัยทรัพยากรและกำลังคนจำนวนมาก สะท้อนให้เห็นถึงความหลักแหลมในการบริหารของผู้ปกครอง หรืออารยธรรมจีนในช่วงของราชวงศ์ฮั่นระบบการบริหารก็ได้เกิดขึ้น ในการคัดเลือกคนเข้ารับราชการโดยประยุกต์หลักคำสอนจากลัทธิขงจื้อมาดำเนินการคัดสรรคนส่วนทางอารยธรรมยุโรประบบการบริหารได้ถูกพัฒนากฎเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อควบคุมระเบียบวิธีการในการดำเนินกิจการของภาครัฐ อย่างไรก็ตามองค์ความรู้ที่ใช้ในการบริหารในแต่ละอารยธรรมตามตามที่ได้กล่าวมานั้น ยังคงไม่ได้ถูกพัฒนาเป็นศาสตร์ เฉกเช่นในปัจจุบัน (จุมพล หนิมพานิช: 2562: 23-24)
2. ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตการศึกษารัฐประศาสนศาสนศาสตร์ทั้งสามยุคที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นนั้น ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูกพัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐนั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยสืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐโดย
Academic Article and Research ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ หน้าหลัก กระทู้ 1/212 ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ · 27 เม.ย. การเปลี่ยนปลงแนวคิดเก่าไปสู่รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ให้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม บทบาท หน้าที่รับผิดชอบ ในการบริหารจัดการงาน 24 ความคิดเห็นดู 246 ครั้ง แสดงความคิดเห็น แชร์ เขียนความคิดเห็น… krittameth777555 · 26 พ.ค. นายกฤตเมธ เชิดชู 63423471054 ผลจากเทคโนโลยีและโลกาภิวัตน์ ทําให้ตลาดโลกเปลี่ยนแปลง และพัฒนาไปสู่ตลาดเปิดที่ต้องเร่งตอบสนองตาม กระแสสมัยนิยมของโลก มีความโปร่งใสและรวดเร็วทันใจ ผู้ประกอบการ มีโอกาสมากมายในการเลือกฐานผลิตตามความต้องการ ผลที่ตามมาทําให้ ประเทศต่างๆ ต้องหันกลับมามองตนเองและเร่งหาหนทางเพื่อสร้างความได้ เปรียบเชิงเปรียบเทียบให้แก่ประเทศในทุกๆ ด้าน ไม่ใช่เพียงเน้นการส่งออก สินค้าและการให้สิทธิพิเศษเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเท่านั้น แต่ จะต้องส่งเสริมให้ผู้ประกอบการท้องถิ่น และต่างชาติเข้ามาลงทุนผลิตสินค้า ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ทําให้เกิดความมั่งคั่งแก่เศรษฐกิจมากขึ้น สูตรสําเร็จในการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศคงไม่มีในโลกนี้ แต่ละประเทศจะต้องปรับใช้นโยบายโดยเทียบเคียงกับประเทศต้นแบบภายใต้บริบทของตน กลยุทธ์การพัฒนาขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศจะประสบผลสําเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับดุลยภาพทาง เศรษฐกิจ การเมืองและกรอบของขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยมและวัฒนธรรมทางสังคมของชนในชาติ โดยดําเนินการผ่านภาครัฐ ผู้ประกอบ การในภาคธุรกิจและประชากรที่เป็นแรงงานของประเทศ รัฐบาลในฐานะ ผู้บริหารเศรษฐกิจของประเทศมีบทบาทสําคัญในการสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งบทบาทในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าจาก การพัฒนาระบบการศึกษา การสร้างฐานความรู้จากการวิจัยและพัฒนาและสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน ประสิทธิภาพของภาครัฐและโครงสร้างพื้นฐาน ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของภาครัฐประกอบด้วย 5 กลุ่ม ปัจจัยรอง ได้แก่ หนี้สาธารณะ (Public finance) ใน บายการเงินการคลัง (fiscal policy) กรอบความเป็นสถาบันของประเทศ (institutional framework) นิติบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ (Business legislation) และกฎกติกาทางสังคม (sociatial framework) โดยมี ภาครัฐเป็นผู้กําหนดนโยบายและบริหารประเทศ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ มีเสถียรภาพ ทั้งด้านเศรษฐกิจมหภาคและด้านสังคมที่เอื้อต่อการแข่งขันให้ แก่ผู้ประกอบการ รวมทั้งขจัดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบการ ลด การแทรกแซงกิจกรรมทางธุรกิจให้น้อยที่สุด มีการบริหารจัดการนโยบาย การเงินการคลังที่ยืดหยุ่น เพื่อให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจโลกได้ นอกจากนี้รัฐบาลยังมีบทบาทในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าและคุณภาพ ด้วยการส่งเสริมให้มีการศึกษาที่เพียงพอและเข้าถึง ได้ รวมทั้งพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน การสร้างฐาน ความรู้จากการวิจัยและพัฒนาที่มุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ประเทศ ในการประเมินตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ มุ่งเน้นประ เป็นคณภาพ ความรวดเร็วและความโปร่งใสทางการเมืองและในระบบราช การ ที่มีต่อการกําหนดนโยบาย และแนวทางด้านนิติบัญญัติ รวมถึงนโยบาย การเงินการคลังที่ชัดเจนและคาดการณ์ได้ โดยพิจารณาถึง การสร้างดุลย ภาพพลังระหว่างเศรษฐกิจที่เน้นมูลค่าเพิ่ม (proximity) กับ เศรษฐกิจที่ เน้นความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (globality) ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่มี อิทธิพลต่อประสิทธิภาพของภาครัฐ คะแนนของประสิทธิภาพของภาครัฐ เกิดจากการประเมิน 5 กลุ่มปัจจัยรอง ที่รวบรวมข้อมูลจาก 77 เกณฑ์ การประเมิน (IMD WCY 2004) นอกจากรัฐบาลจะมีบทบาทต่อการพัฒนาประสิทธิภาพของภาครัฐ แล้ว รัฐบาลยังเป็นผู้กําหนดนโยบายหลักในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ด้วย ระบบโครง สร้างพื้นฐานที่ดี ร่วมกับประสิทธิภาพของระบบราชการในการให้บริการแก่ ภาคธุรกิจช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจให้เติบโต โครงสร้างพื้นฐานที่ดีครอบคลุม ถึงโครงสร้างและเครือข่ายของการคมนาคมขนส่ง การติดต่อสื่อสารโทร คมนาคม ระบบสารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐานในการรักษาสิ่งแวดล้อม การนําเทคโนโลยีที่มีอยู่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ การลงทุน ด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ การส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนาในระยะยาวให้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านการศึกษา สุขอนามัยและ สิ่งแวดล้อมให้แก่ประชาชน ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าของชาติเฮ ตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจจะช่วยให้ประเทศเกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน มากขึ้น ตัวชี้วัดด้านโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure) ประกอบด้วย 5 กลุ่มปัจจัยรอง ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (basic infrastructure) โครง สร้างทางด้านเทคโนโลยี (technological infrastructure) โครงสร้างทาง ด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific infrastructure) สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม (health and environment) และการศึกษา (education) การประเมิน ศักยภาพด้านโครงสร้างพื้นฐาน จะมุ่งศึกษานโยบายของภาครัฐต่อการ ลงทุนในระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่ง แวดล้อม การธํารงรักษาสายใยของสังคมด้วยการลดช่องว่างของรายได้ และขยายฐานของกลุ่มชนชั้นกลาง นโยบายการลงทุนด้านการศึกษาขั้นพื้น ฐานจนถึงระดับมัธยมศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ และการถ่ายโอนความรู้ระหว่างมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลและผู้ประกอบ การซึ่งเป็นพลังผลักดันทางเศรษฐกิจของประเทศ คะแนนของโครงสร้างพื้น ฐานเกิดจากการประเมิน 5 กลุ่มปัจจัยรองข้างต้น ที่รวบรวมข้อมูลจาก 94 เกณฑ์การประเมิน (criteria) อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วัดศักยภาพในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของ ภาครัฐและด้านโครงสร้างพื้นฐานมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน และส่งผลต่อ การกําหนดนโยบายอันเกิดจากการจัดการดุลยภาพพลังของสภาพแวดล้อม มีอิทธิพลต่อทั้งประสิทธิภาพของภาครัฐและโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งสะท้อนจะนในนโยบายการบริหารประเทศ เช่น การกระตุ้นและส่งเสริมการลง คนโดยการผ่อนผันหรือยกเว้นภาษี การให้เงินอุดหนุน การพัฒนาระบบการ ศึกษาขั้นพื้นฐานและสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และการ สร้างเศรษฐกิจฐานความรู้จากการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้ประเทศมีศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ประสิทธิภาพและความสามารถในการรับมือกับการเปลี่ยน แปลงต่อสภาพแวดล้อมของการแข่งขัน เป็นคุณสมบัติ ทางการจัดการที่สําคัญ และจําเป็นต่อศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบ การในภาคธุรกิจ การมีแหล่งเงินทุนที่ส่งเสริมให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่กิจกรรม ระบบการจัดการสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่เข้มแข็ง เพื่อสนับสนุน การแข่งขันระหว่างประเทศ การยกระดับมาตรฐานการครองชีพที่สงขึ้นอัน เกิดจากการประสานเศรษฐกิจภายในประเทศและระหว่างประเทศเข้าด้วย กัน จํานวนของผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้าสู่ภาคธุรกิจมีความสําคัญต่อการ สร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แรงงานที่มีทักษะและเจตคติของแรงงานมีผลต่อ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่เพิ่มขึ้น และมูลค่าเพิ่ม ถึงผลิตภาพ เรียกได้ว่าเป็นประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ประกอบด้วย 5 กลุ่มปัจจัยรอง ได้แก่ ผลิตภาพ (productivity) ตลาดแรงงาน (labour market) สถาบันการเงิน (finance) การบริหารจัดการที่ดี (management practices) และเจตคติและค่านิยม (attitudes and values) ในการประเมินตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ มุ่งเน้น ประเมินความคล่องตัว และการปรับตัวที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโครง สร้างทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจ อันเกิดจากการบริหารจัดการผลิตภาพ จากสินทรัพย์และกระบวนการ (capabilities) บนพื้นฐานของดุลยภาพ ระหว่างอัตราค่าจ้าง ผลิตภาพ และการจัดเก็บภาษี ในลักษณะของไตรภาคี โดยให้คะแนนประสิทธิภาพของภาคธุรกิจจากการประเมิน 5 กลุ่มปัจจัย รอง ที่รวบรวมข้อมูลจาก 69 เกณฑ์การประเมิน (IMD WCY 2004) อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อให้ส่งผลไปถึง ประเทศจําเป็นจะต้องอาศัยการเพิ่มผลิตภาพโดยองค์รวม (holistic national approach) ของภาคธุรกิจ IMD World Competitiveness Yearbook 2005 ได้ประ เมินและจัดลําดับศักยภาพในการแข่งขันในด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ของประเทศไทยไว้ในลําดับที่ 28 จากการเปรียบเทียบกับ 60 ประเทศ และเขตเศรษฐกิจทั่วโลก โดยมีผลิตภาพอยู่ในลําดับที่ 56 ตลาดแรงงาน ลําดับที่ 5 สถาบันการเงิน ลําดับที่ 46 การบริหารจัดการที่ดี ลําดับที่ 27 และเจตคติและค่านิยม ในลําดับที่ 16 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน พบว่า ศักยภาพในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจของไทยลดลง ดัง แสดงในตารางที่ 1 ในปี 2005 IMD ได้ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมิน (criteria) ด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ดังนี้ 1. ผลิตภาพ ประกอบด้วย เกณฑ์ผลิตภาพโดยรวม อัตราการเติบโตแท้จริงของ ผลิตภาพโดยรวม อํานาจในการซื้อสินค้าโดยเปรียบเทียบในสกุลเงินเดียว กัน (PPP) ของผลิตภาพโดยรวม PPP ของผลิตภาพแรงงาน PPP ของ ผลิตภาพในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และภาคการบริการ และเพิ่ม เกณฑ์การประเมินอีก 2 เกณฑ์ซึ่งเป็นเกณฑ์จากข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ บริษัทขนาดใหญ่ (large corporations) และวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (Small and medium-size enterprises) 2. ตลาดแรงงาน ประกอบด้วย เกณฑ์ด้านต้นทุน แรงงานสัมพันธ์ และด้านทักษะ ของแรงงานซึ่งเพิ่มการจ้างงานในบางช่วงเวลา (part-time employment) อีก 1 เกณฑ์ 3. สถาบันการเงิน ประกอบด้วย เกณฑ์ด้านประสิทธิภาพของธนาคารพาณิชย์ ประ สิทธิภาพของตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งตัดเกณฑ์การซื้อขายหลักทรัพย์โดยมีข้อมูล จากวงใน (insider trading) ออก 4. การบริหารจัดการที่ดี ประกอบด้วย เกณฑ์ความคล่องตัวและการปรับตัว จรรยาบรรณ ความน่าเชื่อถือของผู้บริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัท ค่านิยมของผู้ ถือหุ้น ความพึงพอใจของลูกค้า ความเป็นผู้ประกอบการ การตลาด ความรับผิดชอบต่อสังคม ความใส่ใจในสุขอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม และเพิ่มเกณฑ์การตรวจสอบและการดําเนินการด้านบัญชี (auditing & ac-counting practices) 5. เจตคติและคํานิยม ประกอบด้วย เกณฑ์เจตคติต่อโลกาภิวัตน์ ภาพลักษณ์ในสายตาขอ ต่างประเทศ วัฒนธรรมที่เปิดรับความคิดเห็นของต่างชาติ ความคล่องตัวและ การปรับตัวของชนในชาติ ความเข้าใจถึงความจําเป็นในการปฏิรูปเศรษฐกิจ และสังคม ค่านิยมของสังคม และเพิ่มเกณฑ์ค่านิยมขององค์การ (Corporate values) อีก 1 เกณฑ์ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจเป็นพลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่สําคัญ เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนอันเกิดจากการสร้างมูลค่าเพิ่มและการสร้างคุณค่า ทํา ให้เกิดศักยภาพในการแข่งขันของภาคธุรกิจ และสะท้อนถึงศักยภาพในการ แข่งขันของประเทศ ผลการปฏิบัติงาน ทางด้านเศรษฐกิจ ความมั่งคั่งของประเทศอันเกิดจากการแข่งขันภายใต้อํานาจ ของตลาดเป็นตัวสะท้อนผลการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐ กิจของปีที่ผ่านมา การแข่งขันของธุรกิจภายในประเทศที่รุนแรงยิ่งส่งผลให้ ผู้ประกอบการในประเทศมีศักยภาพที่จะก้าวไปสู่การค้าระหว่างประเทศมาก ขึ้น การเติบโตของเศรษฐกิจภายในประเทศนําไปสู่การส่งออก หากพิจารณา ภายใต้เงื่อนไขที่ปราศจากมาตรการกีดกันทางการค้าใดๆ จะเห็นว่า การค้า ระหว่างประเทศ และการส่งออกเป็นตัวสะท้อนถึงความสามารถในการแข่ง ขันของผู้ประกอบการภายในประเทศ การเปิดเสรีทางการค้ายังเป็นแรง ดึงดูดและส่งเสริมให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศมากขึ้น ในขณะที่การ เปิดสู่ตลาดภายนอก และการลงทุนในต่างประเทศจําเป็นต้องมีการบริหาร กองทุนรวมระหว่างประเทศ ที่สามารถกระจายความเสี่ยงในการลงทุนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดด้านผลการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ประ กอบด้วย 5 กลุ่มปัจจัยรอง ได้แก่ เศรษฐกิจภายในประเทศ (domestic economy) การค้าระหว่างประเทศ (international trade) การลงทุน ระหว่างประเทศ (international investment) การจ้างงาน (employment) และดัชนีราคา (prices) ในการประเมินตัวชีวัดด้านผลการปฏิบัติ งานทางด้านเศรษฐกิจ IMD มุ่งประเมินที่นโยบายส่งเสริมการออมของ ประเทศและการลงทุนภายในประเทศ การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศที่แท้จริง นโยบายเชิงรุกในการขยายการส่งออกสินค้า และบริการสู่ตลาดต่างประเทศที่ได้สมดุลกับการดึงดูดการลงทุนจากต่าง ประเทศ การจ้างงานในแต่ละสาขา รวมถึงพนักงานภาครัฐ อัตราการว่าง งาน ดัชนีค่าครองชีพและดัชนีราคาผู้บริโภค ผลการปฏิบัติงานทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศเป็นผลสัมฤทธิ์อันเกิดจากประสิทธิภาพของภาครัฐ ที่เป็นผู้กําหนดความสมดุลของนโยบายเศรษฐกิจระหว่างการเน้นมูลค่า เพิ่ม และการเน้นความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ และการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานที่ดี ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การวิจัยและ พัฒนา ทําให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการแข่งขันได้ของผู้ประกอบการ ภาคธุรกิจสามารถอยู่รอด มีรายได้ เติบโตโดยมีส่วนแบ่งตลาดที่ใหญ่ขึ้น สามารถนําผลกําไรสะสมมาลงทุนพัฒนาสินทรัพย์และกระบวนการ เกิด การจ้างงาน ประชากรมีมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้นและมีความผาสุก เกิดความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของประเทศ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวม ของประเทศมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นด้วย คะแนนของผลการปฏิบัติงาน ทางด้านเศรษฐกิจเป็นการประเมินข้อมูลที่รวบรวมจาก 22 - 4 ประเมิน (Criteria) IMD บูรณาการผลการศึกษาทางพฤติกรรมศาสตร์และค่านิยมของ มเข้ากับตัวชี้วัดศักยภาพในการแข่งขันของประเทศทั้ง 4 กลุ่มปัจจัย " อันได้แก่ ผลการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของภาค ะ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และโครงสร้างพื้นฐาน และกําหนดเป็นตัว แบบพฤติกรรมศาสตร์ 3 ตัวแบบ ได้แก่ 1. The South European Model เป็นตัวแบบของประเทศที่มีโครงสร้างพื้นฐาน ระเบียบปฏิบัติทาง ธุรกิจ และการประกันสังคมเพียงเล็กน้อย มีระบบเศรษฐกิจคู่ขนานที่มีต้น ทนค่าแรงต่ํา และรับจ้างผลิตโดยใช้แรงงานเท่านั้น ประเทศที่มีลักษณะตาม ตัวแบบนี้ ได้แก่ ประเทศอิตาลี สเปน โปรตุเกส ตุรกี และประเทศในเขต เศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่ (New Industrial Economics) หรือ NIES 2. The North European Model เป็นตัวแบบของประเทศที่เน้นเสถียรภาพ การเห็นพ้องทางสังคม และยอมรับกฎกติกามารยาทร่วมกัน การธํารงรักษาสายใยของสังคมด้วย การลดช่องว่างของรายได้และขยายฐานของกลุ่มชนชั้นกลาง ประชาชนของ ประเทศเหล่านี้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ประเทศที่มีลักษณะตามตัวแบบนี้ ได้แก่ ประเทศเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และไต้หวัน 3. The Anglo-Saxon Model เป็นตัวแบบของประเทศที่มีกฎระเบียบที่ผ่อนผัน ผ่อนปรน ไม่เข้ม งวดเกินไป มีการแปรรูปวิสาหกิจที่รัฐเป็นเจ้าของไปสู่รูปแบบที่บริหารจัดการโดยเอกชน การลงทุนด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับมัธยมศึกษา และ การเรียนรู้ตลอดชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้เกิดเป็นทุนมนุษย์ เป็น แรงงานที่มีความรู้และทักษะ จึงมีความคล่องตัวและสามารถเลือกงานได้ รวมทั้งมีความมั่นคงทางการเงิน ประเทศเหล่านี้จะสนับสนุนประชาชนให้ เป็นผู้ประกอบการ ประเทศที่มีลักษณะตามตัวแบบนี้ ได้แก่ ประเทศสหรัฐ อเมริกา แคนาดา สหราชอาณาจักร สิงคโปร์ และฮ่องกง การจัดลําดับศักยภาพในการแข่งขันของประเทศของ IMD เป็น การศึกษาการบริหารจัดการดุลยภาพของพลัง 4 คู่ ที่ประกอบกันขึ้นเป็น สภาพแวดล้อม รวมถึงกรอบของขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมและ วัฒนธรรมซึ่งหล่อหลอมให้เกิดเป็นพฤติกรรมของชนในชาติ เพื่อกําหนด ตัวชี้วัดศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ การประเมินตัวชี้วัดเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงเศรษฐกิจของประเทศ ประสิทธิภาพของภาครัฐในการ กําหนดนโยบาย การบริหารจัดการและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สําคัญ เพื่อสนับสนุนให้ภาคธุรกิจของประเทศแข็งแกร่ง คล่องตัว มีความคิดสร้าง สรรค์และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ตอบกลับ ธนวัฒน์ อนุทิพย์ · 09 มิ.ย. ใชครับยุคนี้เป็นยุคแห่งการพัฒนา จึงมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ไม่ใช่แค่เปลี่ยนแปลงประเทศแต่รวมไปถึงทั่วโลก 0 ตอบกลับ Phruetrawi(First) · 27 พ.ค. พฤธิ์รวร ชื่นศิริ ุ63423471006 แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจ าแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของ เวลา เช่น เช่น นิโคลัส เฮนรี่ (Nicholas Henry) พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์/ขอบเขตเนื้อหา คือ 1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926 2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950 3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970 4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970 5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา ผลงานของนักวิชาการไทยได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการน าแนวทางการศึกษาแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่ส าคัญคือ 1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร 2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร 3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ และการวิจัยเรื่ององค์การ ตอบกลับ tanawatanatip · 29 พ.ค. แนวทางการศึกษา กรอบแนวคิด และทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร การที่จะศึกษาศาสตร์หรือแขนงวิชาการใดๆให้เข้าใจอย่างถ่องแท้นั้น ผู้ศึกษาจาเป็นจะต้องทา ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีต่างๆที่เก่ียวข้องกับศาสตร์นั้นๆเป็นเบื้องต้นเสียก่อน ทั้งน้ี เนื่องจาก แนวคิดและทฤษฎี1จะเป็นพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจธรรมชาติของศาสตร์นั้นๆได้เป็นอย่าง ดี รัฐประศาสนศาสตร์ก็เช่นเดียวกันท่ีเป็นวิชาการทางด้านสังคมศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีมีแนวคิดและทฤษฎี ที่เกิดจากการส่ังสมองค์ความรู้มาเป็นระยะเวลาช้านาน อย่างเป็นทางการก็ย้อนไปเม่ือปี ค.ศ. 1887 จากผลงานอันเลื่องช่ือของวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ที่มีชื่อว่าการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร (The Study of Administration) ซง่ึ ได้นาเสนอเรื่องแนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหาร (Politic- Administrative Dichotomy) ส่วนที่ไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะในทางปฏิบัติก็นับตั้งแต่เร่ิม ประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ดังที่ไคเดน (Caiden, อ้างถึงในปุระชัย เป่ียมสมบูรณ์, 2552: 72) ได้กล่าว เอาไว้อย่างน่าสนใจว่า “รัฐประศาสนศาสตร์มีความเก่าแก่เท่ากับสังคมที่ศิวิไลซ์...นักปรัชญาเกือบทุก ท่านในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้แสดงความคิดเห็นบางประการเก่ียวกับธรรมชาติของการเมือง รัฐบาล และรัฐประศาสนศาสตร์ไม่ช่วงใดก็ช่วงหนึ่งของชีวิต รวมท้ังตำหรับตำราฉบับสาคัญทั้งหลายก็ได้ อุทิศหน้ากระดาษจานวนไม่มากก็น้อยเพื่อกล่าวถึงเรื่องสาธารณะหรือสะท้อนให้ประจักษ์ถึงธรรมชาติ ของรัฐประศาสนศาสตร์”ก่อนที่ในเวลาต่อมาจะมีผู้ให้ความสนใจศาสตร์แขนงนี้เพิ่มมากข้ึนโดยลาดับ อย่างไรก็ดี องค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ในแต่ละยุคสมัยก็อาจมีกรอบแนวคิดและ ทฤษฎีที่แตกต่างกันออกไป ทาให้มีการท้าทายกรอบแนวคิดและทฤษฎีนั้นๆเกิดข้ึน โดยได้ท้าทายกันใน ประเด็นที่ว่าถูกต้องหรือไม่เหมาะสมอย่างไร และด้วยเหตุผลประการใดบ้าง ทาให้รัฐประศาสนศาสตร์ มักจะถูกดึงเข้า (pull) และผลักออก (push) จากกรอบแนวคิดและความเชื่อหนึ่งไปยังกรอบแนวคิด และความเช่ือหน่ึง อันเป็นผลของความจริงท่ีได้จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิจัยในแต่ละยุคสมัย นั่นเอง ดังนั้น จึงทาให้รัฐประศาสนศาสตร์มีกรอบแนวคิดและทฤษฎีเกิดข้ึนอย่างหลากหลาย ซึ่งเป็น เรื่องสาคัญที่ผู้ศึกษาหรือสนใจทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์จะต้องศึกษาทาความเข้าใจในกรอบแนวคิด และทฤษฎีต่างๆอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้เข้าถึงซึ่ง ความเป็นรัฐประศาสนศาสตร์ต่อไป ตอบกลับ สุปรียา หมื่นทอง · 29 พ.ค. นางสาวสุปรียา หมื่นทอง63423471141 รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่’ (New Public Administration: NPA) ซึ่งเป็น การรวมตัวของแนวคิดจากขบวนการเคลื่อนไหวมนุษย์สัมพันธ์ (Human- relations movement) และรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งเน้นการเมือง (Political- oriented public administration) (Marini, 1971) ผู้ที่เข้าร่วมการประชุมที่ Minnowbrook ในปี 1968 ต่างมองเห็นสังคมว่า เต็มไปด้วยการแบ่งแยก กีดกัน ความอยุติธรรม และความไม่เสมอภาคอีกทั้งตัวทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบริหารแยกจากการเมือง การแบ่งแยกข้อเท็จจริงออกจากคุณค่า และความสามารถในการตรวจสอบได้แบบประชาธิปไตยแบบตัวแทนต่างส่งเสริมให้เกิดการกดทับและความแปลกแยกในสังคม (White, 1971) ดังนั้น ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งนี้จึงผลักดันให้เกิดการปรับ จุดเน้นใหม่ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์โดยเห็นว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรถอยห่างจากการมุ่งแสวงหาการบริหารที่มีประสิทธิภาพไปสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างประชาธิปไตยทั้งภายในและภายนอกองค์การภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางสังคม (Social equality) สำหรับพวกเขาแล้วเป้าหมายขององค์การสาธารณะคือการบรรเทาความทุกข์ทรมานจากเศรษฐกิจ สังคม และทางกายภาพ และส่งเสริมโอกาสในการดำรงชีวิตทั้งภายในและภายนอกองค์การแนวทางเช่นนี้จึงเป็นการเคลื่อนจากศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วงทางทฤษฎีไปสู่แนวทางเชิงปทัสถาน (Normative approach) (Harmon, 1971) ในทศวรรษที่ 1970s ภายใต้สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่ตกต่ำและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้นปรากฏอยู่ทั่วโลกผลักดันให้ประสิทธิภาพประสิทธิผลและความประหยัดกลายเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาก่อนประเด็นอื่นโดยเฉพาะความเสมอภาคทางสังคมทำให้โครงร่างทางความคิดของสำนักรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กลายเป็นสิ่งไม่เป็นจริง อย่างไรก็ตามข้อถกเถียง ในเรื่องคำถามเชิงปทัสถานที่มีต่อสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มิเคยถูกลืมยังคงมีความเป็นไปได้ในมุมมองอื่นๆ ของรัฐประศาสนศาสตร์ที่เน้นการมีส่วนร่วมและความเสมอภาคทางสังคม โดยในต้นทศวรรษที่ 1980s John Rohr (1978, 1986) ได้พัฒนาแนวทางการให้เหตุผลแก่องค์การภาครัฐที่มีพื้นฐานจากการตีความรัฐธรรมนูญอเมริกาอย่างสร้างสรรค์แนวทางรัฐธรรมนูญนิยมแบบ Rohr เป็นเสมือนผู้พิทักษ์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยเฉพาะขบวนการเคลื่อนไหวรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ หรือ NPAณ สถาบันเวอร์จิเนียโพลีเทคนิคแห่งเมืองแบล็กเบิร์น เขาได้ผลิตงานเขียนทาง รัฐประศาสนศาสตร์เพื่อปกป้องแนวทางแบบ NPA อย่างต่อเนื่อง จนพัฒนา เป็น ‘แนวทางแบล็กเบิร์น’ (Blackburg Perspective) ซึ่งประกอบสร้างแนวคิดจากสำนักรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (Wamley, et al., 1990) ตอบกลับ s63423471008 · 29 พ.ค. ศิวาวุธ 63423471008 ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์น้ัน มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างข้ึนและร่วมสมัยมากข้ึน ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ท้ังนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากข้ึน ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์น้ันมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติท่ี สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ท่ีเป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย 0 ตอบกลับ 1007 กัลกร อภิชาติวรนันท์ · 29 พ.ค. นางสาว กัลกร อภิชาตวรนันท์ 63423471007 ความสำคัญของการปฏิรูปการจัดการภาครัฐ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ (Public Management Reform) เป็นแนวคิดที่เกี่ยวกับวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมาย ซึ่งวิธีการหนึ่ง ๆ อาจมุ่งสู่ เป้าหมายหลายประการ อันหมายรวมถึงการประหยัดรายจ่ายสาธารณะ การยกระดับคุณภาพให้บริการสาธารณะ การดำเนินการของรัฐบาลที่มากด้วย ประสิทธิภาพ การเพิ่มประสิทธิผลของนโยบายที่ถูกเลือกและนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นต้น นอกจากนี้ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐยังช่วยส่งเสริมในการบรรลุ เป้าหมายขั้นกลาง (Intermediate ends) อาทิ การเสริมความแข็งแกร่งในการ ควบคุมของนักการเมืองที่มีต่อระบบราชการ การให้อิสระแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ จากข้อจำกัดทางในระบบราชการ พัฒนาการและฐานคิดเชิงทฤษฎีของการจัดการภาครัฐจากการ จัดการภาครัฐดั้งเดิมสู่การจัดการภาครัฐแนวใหม่ พัฒนาการในทฤษฎีการจัดการภาครัฐเกิดขึ้นพร้อมกันกับการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ ในกิจกรรม สาธารณะเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด (The one best way) ในระยะเริ่มแรกนั้น การจัดการแบบวิทยาศาสตร์นั้นแยกต่างหากจากการจัดการทั่วไป ซึ่งเน้นศึกษา การจัดการองค์การการทำงานของเจ้าหน้าที่ การงบประมาณ การเจ้าหน้าที่ โดยการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ถูกมองเป็นศาสตร์ลูกผสมระหว่าง วิศวกรรมศาสตร์และการบริหารธุรกิจ มีการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Operation research) ที่ประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และศาสตร์/ ตัวแบบการ คำนวณในการบริหารธุรกิจ อาทิ การกำหนดราคา การควบคุมคุณภาพ ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การจัดส่งสินค้า สินค้าคงคลัง แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) แนวคิดใน ยุค 1980’s นี้ ให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์นโยบายการจัดการภาครัฐ เป็นแนวคิด เพื่อลดขนาดราชการ การให้บริการด้วยระบบตลาด และเทคนิคการจัดการสมัยใหม่ ซึ่งได้รับอิทธิพลรากฐานมาจากสำนักคิดการจัดการนิยม เน้นหัวใจสำคัญ ของการใช้หลักการทางธุรกิจเอกชนเข้ามาประยุกต์ใช้ในการบริหารกิจการสาธารณะ และ แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (New Public Service: NPS) เป็นข้อเสนอเกี่ยวกับ พลเมืองและการคืนอำนาจให้ประชาชนโดย โรเบิร์ต เดนฮาร์ดท และเจเนต เดนฮาร์ดท (Robert Denhardt และ Janet Denhardt) ได้เสนอกระบวนทัศน์ใหม่ที่ เรียกว่า New Public Service (NPS) หรือการบริการสาธารณะแนวใหม่ นักคิดทั้งสองมองว่ารัฐบาล ไม่ต้องกุมทิศหรือชี้ทิศ และยังกล่าวถึง “Public Spirit” ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณสาธารณะ ทั้งนี้จะพบว่าใช้กรอบหรือ แนวทางศึกษาในเรื่องมิติของเวลา และมิติของหน่วยการวิเคราะห์เป็นเครื่องชี้นำ การระบุพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ผ่านประเด็นองค์ความรู้ที่ในแต่ละแนวคิดมี แตกต่างกันตามยุคสมัยรวมถึงแนวทางการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแต่ละแนวคิดเหล่านั้น ตอบกลับ flooxible · 30 พ.ค. นาย เอกรัตน์ ศรีสุวรรณ์ 63423471136 รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ประกอบด้วย 3 แนวคิด คือ 1.รัฐประศาสนศาสตร์แนวคลาสสิก (Classical public administration) 2. รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) 3.รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New public administration) โดยทฤษฎีทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัย ‘ลัทธิปัจเจกชนนิยม เชิงระเบียบวิธี’ (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานในการศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคลมุ่งหวังในเป้าหมายของตน และจะทำกระทำการใด ๆ ตามความ พึงพอใจของตนเอง เพื่อให้บรรลุความพึงพอใจสูงสุด (Maximize utility) โดยบทบาทหน้าที่คือกำหนดนโยบายและ บริหารนโยบาย ดังนั้น เรื่องนโยบายและการบริหารจึงควรเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องกัน นักบริหารควรได้รับ การมอบหมายทั้งเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งถือเป็นค่านิยม วัตถุประสงค์ หรือ เหตุผลร่วมกันของรัฐประศาสนศาสตร์ เปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวางความเป็นธรรมในสังคม ทั้งนี้โดยมุ่งส่งเสริมวัตถุประสงค์ของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ คือ 1) การจัดการที่ดี 2) มีประสิทธิภาพ 3) ประหยัด 4) มีความเป็นธรรมทางสังคม รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุนรูปแบบของการจัดองค์การราชการที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ เช่น การกระจายอำนาจการมอบอำนาจลดหลั่น กันไปเป็นอันดับ โครงการสัญญาการฝึกอบรมแบบรับรู้ความต้องการต่างๆ อย่างที่เรียกว่าการขยายความรับผิดชอบ การเผชิญหน้า และการนำเอาผู้รับบริการเข้ามาร่วมด้วย ล้วนเป็นแนวความคิดที่เป็นปฏิปักษ์กับระบบราชการในแง่ของสาระสำคัญทั้งสิ้น รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายาม แสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตามอำนาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายาม แสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหารนโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัว ปัญหาและพยายามพิจารณาทางเลือกต่างๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้นๆโดยสถาบัน เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งนักรัฐประศาสนศาสตร์ได้พยายามที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ หรือไม่ก็ปรับปรุงใหม่ให้เป็นสถาบันที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สามารถบรรลุถึงการแก้ปัญหาที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากกว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เน้นในส่วนที่เป็นราชการมากกว่าบริหารทั่วๆไปในการแก้ไขปัญหา ตอบกลับ Takkapad Dulalumpa · 30 พ.ค. ธัคภัศ ดุละลัมพะ 63423471009 Tom Burns แ ล ะ G.M. Stalker (1961) เ ขี ย น Mechanistic and Organic System ใน The Management of Innovation ว่ำในสภำพแวดล้อมที่ไม่เปลี่ยนแปลง (stable conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ mechanic ซึ่งยึดกฎระเบียบที่เป็นทางการ การสื่อสาร แบบแนวดิ่ง และใช้การตัดสินใจแบบใช้โครงสร้าง ขณะที่สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (dynamic conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ organic ซึ่งยืดหยุ่น การมีส่วนร่วม และ ขึ้นอยู่กับพนักงานในการกำหนดจุดยืนและความสัมพันธ์ เช่น ในการสร้างภาวะสร้างสรรค์ องค์การ แบบ organic ต้องการให้องค์การสนับสนุนเรื่องนวัตกรรม แนวคิดการจัดองค์การนี้สามารถ ประยุกต์ใช้ในการออกแบบองค์การให้มีประสิทธิภาพที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่คงที่หรือ เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะโต้แย้งทฤษฎียุคดั้งเดิมที่เน้นวิธีที่ดีที่สุดวิธีเดียว (one best way) หลายๆองค์การ ได้มีการปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างและการทางานให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น Peter M. Blau และ W. Richard Scott (1962) ใน Formal Organization: A Comparative Approach ในหัวข้อ The Concept of Formal Organization กล่าวว่า ในทุก องค์การประกอบด้วยองค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยที่องค์การไม่เป็นทางการจะ สนับสนุนองค์การที่เป็นทางการในการสร้างปทัสถาน (norm) ในกำรปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้กำหนดไว้อยู่ ในกฎและระเบียบ และเป็นโครงสร้างทางสังคม (social organization) ซึ่งประกอบด้วย ความสัมพันธ์ทางสังคม (social relation) และความเชื่อและความสนใจร่วมกัน (shared belief and orientation) ในการสร้างแนวปฏิบัติร่วมกันในองค์การแนวคิดนี้ในผู้บริหารองค์การทั้งภาครัฐ และเอกชนจะต้องเข้าใจลักษณะขององค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อที่จะสร้างความร่วมมือร่วมใจกันในกำรบรรลุเป้าหมายองค์การที่กำหนดไว้ ตอบกลับ 1143 ปฤษฎี สวัสดิ์ผล · 30 พ.ค. โดยพัฒนาการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐถูกแบ่งออกเป็น 3 ยุคใหญ่ ที่มีการท้ายทายและ เปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ในการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ คือ ยุคแรก ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (1887-1926) แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จะมุ่งเน้นไปถึงการค้นหาหลักการบริหาร ที่มุ่งน าไปใช้ใน การเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของภาครัฐ ยุคที่สอง ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1945-1970) แนวคิดและ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทายและมุ่งเน้นไปที่การศึกษานโยบายสาธารณะ การบริหารรัฐกิจ เปรียบเทียบ และการศึกษาทฤษฎีองค์การในเชิงพฤติกรรมศาสตร์ และยุคที่สาม ช่วงเวลาในปีค.ศ. 1970 ถึง ค.ศ. 2008 รัฐประศาสนศาสตร์ได้มีการทบทวนอัตลักษณ์ของสาขาวิชา จนน ามาสู่การสร้างรัฐประศาสนศาสตร์ใน ความหมายใหม่ (new public administration) ที่มุ่งประเด็นไปยังการบริหารงานภาครัฐที่สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคมในระดับมหภาค โดยในปัจจุบันรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ขยาย ขอบเขตสอดคล้องกับประเด็นร่วมสมัย ซึ่งในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแส การพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ทั้งด้าน การศึกษาเทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการบริหารงานภาครัฐ การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ (Public Administration) ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่ การเปลี่ยนผ่านความสู่ยุครัฐชาติการศึกษาการบริหารงานภาครัฐ ยิ่งเพิ่มความสนใจมากขึ้นจนเกิดเป็นศาสตร์สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ที่มีแนวคิดและทฤษฎีที่สามารถน ามาเป็นหลักปฏิบัติในการ บริหารงานภาครัฐได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมีการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน ภาครัฐอย่างเฉพาะด้าน ส่งผลให้องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์มีความเฟื่องฟูเพราะเกิดหลักการบริหารงาน ภาครัฐที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเป็นสากล อย่างไรก็ตามพัฒนาการศึกษาการบริหารงานภาครัฐก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องด้วยบริบทการ พัฒนาและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติเอกลักษณ์ในองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่เปลี่ยน จากความพยายามแยกค่านิยมหรือการเมืองออกจากการบริหาร ซึ่งในท้ายที่สุดท าให้นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องกลับมาสนใจค่านิยมและนโยบายสาธารณะกับการบริหารงานภาครัฐมากขึ้น ในขณะเดียวกันในด้าน ทฤษฎีองค์การต้องย้อนกลับไปให้ความสนใจกับการพัฒนาหลักการบริหาร ที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงพฤติกรรม ศาสตร์มากขึ้น ด้วยเหตุนี้สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์จึงถูกเข้าผนวกเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์สาขาวิชา รัฐศาสตร์และการจัดการ ซึ่งเป็นการสูญเสียความเป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาไป จนในช่วงปลายปีค.ศ. 1960 ถึงต้นปี ค.ศ. 1970 ได้มีการทบทวนสถานภาพของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์อีกครั้ง ส่งผลให้การรื้อฟื้นอัตลักษณ์องค์ความรู้ให้กับสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ได้รับความสนใจ โดยมีการ สร้างแนวคิดรัฐประศานศาสตร์ในความหมายใหม่ (new public administration) ในแนวคิดดังกล่าวนี้ส่งให้การ บริหารจัดการภาครัฐ ปรับเปลี่ยนมาศึกษาบทบาทการบริหารงานภาครัฐกับประเด็นสาธารณะ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการและความหลากหลายทางสังคมมากขึ้น และได้เกิดแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขึ้น (new public management) ขึ้นในปีค.ศ. 1980 เพื่อปฏิรูปการท างานของภาครัฐซึ่งเป็นการพลิกบทบาทการ บริหารงานของภาครัฐที่ต้องด าเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการด าเนินกิจการสาธารณะ จนกลายเป็นกระแสการ พัฒนาการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ในขณะเดียวกันช่วงเป็น ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาแนวคิดการบริการ สาธารณะแนวใหม่ (new public service) ถูกเสนอขึ้นมาในการศึกษาและน าไปปรับปรุงการบริหารงานของ ภาครัฐ ซึ่งให้ความสำคัญกับบทบาทภาคพลเมืองในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการด าเนินกิจการสาธารณะ แนวคิดทั้งสองดังกล่าวได้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐจนมาถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย 0 ตอบกลับ Tanawut seehanam · 31 พ.ค. ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย 0 ตอบกลับ Tanawut seehanam · 31 พ.ค. มุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการด าเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหาก าไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) 0 ตอบกลับ Takkapad Dulalumpa · 01 มิ.ย. ธัคภัศ ดุละลัมพะ 63423471009 การจัดการภาครัฐแนวใหม่ เข้ามาแทนที่การบริหารงานภาครัฐแบบดั้งเดิม ด้วยเหตุผล สำคัญ คือ แนวคิดเสรีนิยมใหม่ การเปลี่ยนแปลงบริบททางการเมือง วิกฤติเศรษฐกิจที่แต่ละประเทศ ต้องเผชิญ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงการเพิ่มบทบาทของหน่วยงานที่ให้ คำปรึกษาด้านการจัดการ แนวคิดนี้ เน้นการนำแนวทางของภาคธุรกิจมาประยุกต์ใช้กับการบริหารภาครัฐ หรือ รัฐบาลผู้ประกอบการ ให้ความสำคัญกับการสร้างผลิตภาพสูงสุด อาศัยกลไกตลาด เปิดโอกาส ให้มีการแข่งขัน การมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ การลดขนาดองค์การให้เล็กลง ตลอดจนมอง ประชาชนในฐานะลูกค้า หรือผู้รับบริการที่รัฐต้องมอบสินค้าหรือบริการสาธารณะอย่างทั่วถึงและ เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ถึงแม้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะได้รับความนิยมและถูกนำมาใช้ ในการจัดการภาครัฐของรัฐบาลไทยหลายยุคหลายสมัยจนถึงปัจจุบัน แต่ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ ในหลาย ๆ ประเด็น ได้แก่ แนวคิดนี้เสมือน “จักรพรรดิที่สวมอาภรณ์ใหม่” หรือเรียกได้ว่า “เหล้าเก่า ในขวดใหม่” เนื่องจากเมื่อนำแนวคิดนี้มาปรับใช้แล้ว ปัญหาต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นในระบบการบริหาร ภาครัฐแบบเดิมยังคงเกิดขึ้น และยังเป็นการทำลายความเป็นระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นความยุ่งยาก สลับซับซ้อนจากการจัดท าตัวชี้วัดในระบบการรายงานผล และเพิ่มการใช้จ่ายงบประมาณ รวมถึง ทรัพยากรต่าง ๆ ขณะเดียวกันยังเป็นแนวคิดที่เอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มข้าราชการระดับสูงและ ระดับกลาง ตลอดจนเชื่อว่า แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไม่ได้มีลักษณะที่เป็นสากล หรือไม่ได้ เป็นการจัดการภาครัฐส าหรับทุกฤดูกาล แต่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม และปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งค่านิยมในการบริหารที่แตกต่างกัน ตอบกลับ taeittinat · 03 มิ.ย. อิทธิณัฐ แซมกลาง 63423471284 จากการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุค ต่างๆจะเห็นได้ว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีความเหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) ค่อนข้างมากขณะที่จะมีความแตกต่างกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม (OPA) และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) เป็นอย่างมาก โดยความเหมือนและความแตกต่างดังกล่าวในแต่ละประเด็นมีดังนี้ การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย (Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง (Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน (Commu-nity) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริง ขณะที่ OPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ (client) เน้นการบริหารภายใน มากกว่าภายนอก ยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหาร จัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับบัญชา ผลประโยชน์สาธารณะถูกกำหนดโดยฝ่าย การเมืองและข้าราชการประจำ หรือกำหนดไว้แล้วในนโยบายและกฎหมายต่างๆ ความรับผิดชอบได้เป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจต่าง ๆ จึงถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มนักการเมืองและข้าราชการ พลเมืองหรือประชาชนจึงเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับที่จากัด การปฏิบัติงานก็เป็นไปกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ จนส่งผลให้เกิดการทำงานที่ขาดประสิทธิภาพ และล่าช้า ข้าราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทำงานและถูก ปิดกั้นในความคิดสร้างสรรค์ การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมาก ไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในกาเปลี่ยนแปลงสังคม ค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ควาสำคัญ กับเรื่องความเสมอภาค เป็นธรรม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้ มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกัน เป็น แนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ (anti-logical positivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของ NPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหา ความต้องการหรือความจำเป็นของพลเมือง ตลอดจน เรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่า NPA และ ยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐาน ของ NPS สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการ สาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับการจัดการภาครัฐแนว ใหม่ (NPM) นั้นมีอยู่หลายประเด็นที่แตกต่างกันอย่าง สิ้นเชิง เพราะความตั้งใจของ NPS ในการเป็นแนวคิด หรือวาทกรรมเชิงวิพากษ์ NPM ตั้งแต่ที่ NPS ไม่เห็น ด้วยที่จะมองประชาชนเป็นลูกค้าเหมือน NPM แต่กลับ เห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของ ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผล ประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้น ในการ บริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบ ร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญ มากไปกว่าความเสมอภาค เป็นธรรม และความรับผิด ชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็น ธรรมจริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็น เป้าหมายของการบริการสาธารณะ การบริการของรัฐ ไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมือง เท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไป สู่พลเมือง 2. ผลการสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ พบว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีรากฐานสำคัญ มาจาก 4 แนวคิด คือ (1) ประชาธิปไตยพลเมือง (2) ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม (3) มนุษย์นิยมองค์การและ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (4) รัฐประศาสนศาสตร์ หลังสมัยใหม่ สาระสำคัญหรือองค์ความรู้ของ NPS ได้ มาจากการตีความ วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์แนวคิด ทางรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะการวิพากษ์ แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ซึ่งจากการ ศึกษาวิจัยสามารถสรุปถึงสาระสำคัญของ NPS 0 ตอบกลับ thirawathnchatali · 06 มิ.ย. การเปลี่ยนแปลงแนวคิดแบบเก่าไปสู่รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อพฤติกรรเชิงปทัสถาน ในด้านประจักษ์นิยม เนื่องจากในอดีต การบริหารได้มีการปรับปรุงแก้ไข เปลี่ยนแปลงเรื่อยมา มีการศึกษาผลดีผลเสียในด้านต่าง ๆในการบริหาร บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารแนวใหม่ ผู้บริหารระดับสูงผู้ปกครองที่ใช้อำนาจอธิปไตยควรมีความรับผิดชอบสูงและมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนารูปแบบการบริหารแนวใหม่ เช่น การใช้วิกฤติให้เป็นโอกาส ในด้านเศรษฐกิจ สินค้าอุปโภค บริโภค การใช้ภูมิทางด้านรัฐศาสตร์เป็นตัวช่วยในด้านการส่งออกสินค้าเกษตรต่าง ๆของไทย เช่น ข้าว ยางพารา น้ำตาล แป้งมันสัมปะหลัง ยารักษาโรค อื่น ๆ เพื่อส่งออกสินค้าเหล่านี้ไปยังต่างประเทศ การบริหารจะก่อให้เกิดการปฎิวัติรูปแบบองค์กรหลากหลายมิติ เช่น ภาครัฐ เอกชน ประชาชน ชุมชนต้นแบบ มีส่วนร่วมในการบริหารองค์การให้รับกับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ นำมาซึ่ง การเกิดการจ้างงาน สร้างอาชีพื สร้างรายได้ การดำเนินชีวิตที่ดี เกิดการพัฒนาชุมชน สังคม และการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข 0 ตอบกลับ ธนวัฒน์ อนุทิพย์ · 09 มิ.ย. การเปลี่ยนแปลงในด้านรัฐประศาสนศาสตร์ บทบาทและหน้าที่ต่างๆเป็นการเปลี่นแปลงครั้งใหญ่ เปรียบการเปลลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวัตน์เลยก็ได้ครับ ยิ่งเป็นทางการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในการบริหาร การเมือง การใช้การเป็นอยู่ในการดำรงชีพ ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงทั้งหมด และนำไปสู่การพัฒนา ด้านต่างๆใหดีขึ้นและเกิดประโยชน์มีผลตอบแทนในแต่ละประเทศ ทั้งในประเทศและนอกประเทศ รวมไปถึงการดำรงชีวิตที่ดีขึ้น 0 ตอบกลับ คณิติน ศิริธีรวัฒนสุข 63423471142 · 12 มิ.ย. การจัดการภาครัฐแนวใหม่หรือ New Public Management กล่าวได้ว่าเป็นพาราไดม์ (Paradigm) ที่สำคัญที่นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ให้การยอมรับในปัจจุบันว่าเป็นกรอบแนวคิดที่ถูกนำมาใช้ในการบบริหารภาครัฐในปัจจุบัน ได้เป็นอย่างดี โดยที่แนวคิดการบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ถูกมองว่าเป็นปรัชญาการบริหารที่รัฐบาลนำมาใช้ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อให้การบริหารภาครัฐมีความทันสมัย(New Public Management is a management philosophy used by Governments since the 1980s to modernise the Public Sector) (Wikipedia Encyclopedia ค้นคืนใน http://en.wikipedia.org/wiki/ New_Public_Management) และถ้าจะกล่าวถึงสาระสำคัญของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่นี้แล้วนักวิชาการคนที่สำคัญแรกๆ ที่ได้กล่าวถึงไว้ก็คือ โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะได้สรุปให้เห็นสาระสำคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไว้ ดังต่อไปนี้ (Boston 1996)1. มองว่าการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นสากล หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจ เอกชนและการบริหารงานของภาครัฐ2. ปรับเปลี่ยนจากการให้น้ำหนักความสำคัญที่เดิมมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อการควบคุมปัจจัยนำเข้าหรือทรัพยากรและกฎระเบียบต่าง ๆ มาเป็นการควบคุมในเรื่องของการผลผลิตและผลลัพธ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนการของการทำงาน (process accountability) มาเน้นภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (accountability for results) แทน3. ให้ความสำคัญต่อเรื่องของการใช้ความสามารถหรือทักษะการบริหารมากกว่าการที่ให้ความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายแต่เพียงอย่างเดียว4. ให้ความสำคัญต่อการมอบอำนาจการควบคุมของหน่วยงานกลาง (devolution of centralized power) ไปให้หน่วยงานผู้ปฏิบัติ เพื่อให้ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงานมีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารและการดำเนินงาน5. เน้นปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ โดยเฉพาะการแยกส่วนระหว่างการกำกับดูแลควบคุมที่เป็นภารกิจงานเชิงพาณิชย์และไม่ใช่เชิงพาณิชย์ออกจากกัน รวมถึงแยกภารกิจงานเชิงนโยบายและการให้บริการออกจากกันอย่างเด็ดขาด6. เน้นการแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน (privatization) และให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (outsourcing) รวมทั้งประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงาน (competitive tendering) เพื่อลดต้นทุนและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการให้สูงขึ้น7. ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญญาจ้างบุคลากรของภาครัฐให้มีลักษณะเป็นระยะสั้นและกำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้8. เลียนแบบวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน เช่น การวางแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ การทำข้อตกลงว่าด้วยผลงาน (performance agreement) การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน การจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานและการให้ความสำคัญต่อการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ (corporate image)9. มีการสร้างแรงจูงใจและให้รางวัลตอบแทนในรูปของตัวเงิน (monetary incentives) มากขึ้น10.สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต ตอบกลับ katefbim1128 · 12 มิ.ย. นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา63423471128 รุ่นที่46 การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นการบริหารที่มีจุดมุ่งเน้นไปที่วัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความคุ้มค่าของเงินรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้ รวมถึงการมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของประชาชน ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ด้วย นอกจากนี้แนวคิดดังกล่าวยังมุ่งเน้นให้ความสนใจทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์การไปพร้อมๆกัน รวมตลอดทั้งมีการใช้องค์ความรู้แบบบูรณาการ ทำให้มีแนวคิดและทฤษฎีเกิดขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากในปัจจุบัน เช่น การจัดการเครือข่าย การจัดการเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ องค์การแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ องค์การแห่งนวัตกรรม การจัดการนวัตกรรม การบริหารความเสี่ยง รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวความคิดที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงในระบบการบริหารภาครัฐมากที่สุด และยังจัดว่าเป็นทิศทางการพัฒนาของวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีความชัดเจนมากที่สุดในปัจจุบัน กรอบแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคต่างๆ 5 ยุคคือ 1) กรอบแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคบุกเบิก 2) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคโครงสร้างการหน้าที่ 3) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคพฤติกรรมนิยม 4) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุครัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (New Public Administration: NPA) และ5) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) 0 ตอบกลับ katefbim1128 · 12 มิ.ย. นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา63423471128 รุ่นที่46 รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration: NPA) จัดเป็นอีกแนวความคิด ที่มีความสำคัญอย่างมาก ซึ่งได้ท้าท้ายแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม อาทิเช่น แนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหารที่ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติของความเป็นจริงของสังคม โดยแนวคิดดังกล่าวถือได้ว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการของวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในเวลาต่อมา กล่าวได้ว่าผลกระทบจากการที่สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้รับในเวลาต่อมาจากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางความคิดของสำนักพฤติกรรมนิยมที่สำคัญคือ 1) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ได้เริ่มนำระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตรสังคมและพฤติกรรมมาใช้ในงานวิจัยพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ จนขาดความเอาใจใส่ต่องานวิจัยประยุกต์2) การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มุ่งไปสู่ทิศทางของการวิจัยเชิงปริมาณมากขึ้น ในขณะที่ละเลยการวิจัยเชิงคุณภาพ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสำรวจได้กลายเป็นรูปแบบวิจัยที่เปรียบเสมือนแก้วสารพัดนึกสำหรับการแสวงหาข้อมูลเพื่อตอบปัญหาการวิจัยทุกปัญหาทางรัฐประศาสนศาสตร์ในขณะที่รูปแบบการวิจัยอื่นๆ ดังเช่น การวิจัยเชิง ประวัติศาสตร์ การศึกษาเฉพาะกรณีจุลภาคและการวิจัยสนามซึ่งมีคุณลักษณะในการแสวงหาข้อมูล เจาะลึกภายในองค์การกลับไม่ได้รับการประยุกต์ใช้เท่าที่ควร 3) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ภายใต้สำนักพฤติกรรมนิยมได้ทุ่มเทความสนใจไปสู่การสร้างทฤษฎีระดับสูงและทฤษฎีระดับกลางมากยิ่งกว่าทฤษฎีระดับล่าง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงควรมีลักษณะที่เป็นองค์ความรู้สากล ซึ่งไม่จำกัดด้วย วัฒนธรรม เวลา สถานการณ์ และระเบียบวิธีวิจัยทั้งที่ในความเป็นจริง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มักมีลักษณะที่อยู่ภายใต้ข้อจำกัดต่างๆไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งของจำกัดทางวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น นักวิชาการชาวอเมริกันมักกำหนดให้ประสิทธิภาพขององค์การเป็นวัตถุประสงค์หลักของการบริหารรัฐกิจในขณะที่การบริหารรัฐกิจในประเทศกำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทยยึดถือระเบียบและแบบธรรมเนียม เป็นวัตถุประสงค์หลัก เป็นต้น และ 4) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เริ่มได้รับการพัฒนาเข้าสู่ความ เป็นสหวิทยาการมากยิ่งขึ้น ความเป็นสหวิทยาการมีส่วนทำให้นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์เกิดความรู้สึกว่า สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ตกอยู่ในสภาพ “เจ้าไม่มีศาล” หรือ “กษัตริย์ผู้ไร้บัลลังก์” ความรู้สึกเป็นเจ้าของสาขาวิชาและความมั่นใจในตนเองของนักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทาย และเริ่มมองว่าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์กำลังเข้าสู่วิกฤตการณ์ทางเอกลักษณ์ แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา มีจุดเน้นที่สำคัญ คือ การพรรณนาให้เห็นถึงแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้นมีจุดเน้นที่สำคัญคือ การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อตอบสนองปริมณฑลที่เป็นการบริหารงานภาครัฐและตามจุดสนใจที่การบริหารงานภาครัฐให้ความสำคัญในขณะนั้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์ มีจุดเน้นที่สำคัญคือ ความต่อเนื่องในการสร้างองค์ความรู้และการนำไปใช้เพื่อสนับสนุนต่อการบริหารงานภาครัฐในแต่ละหน่วยการวิเคราะห์โดยตรง 0 ตอบกลับ nattawutjnr · 1 วันที่แล้ว แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจ าแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของ เวลา เช่น เช่น นิโคลัส เฮนรี่ (Nicholas Henry) พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์/ขอบเขตเนื้อหา คือ 1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926 2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950 3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970 4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970 5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา ผลงานของนักวิชาการไทยได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการน าแนวทางการศึกษาแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่ส าคัญคือ 1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร 2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร 3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ และการวิจัยเรื่ององค์การ
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
กระบวนการทำนโยบายสาธารณะจึงเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน ในรายละเอียดแท้จริงแล้วไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาซึ่งอาจจะขึ้นอยู่กับบริบทเฉพาะของพื้นที่หนึ่ง และปัจจัยแวดล้อมทั้งเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ตลอดจนการสนับสนุนให้มีพื้นที่แสดงความคิดเห็น การเข้ามามีส่วนร่วมและท่าทีของผู้มีส่วนได้เสียในนโยบายและตลอดทั้งกระบวนทางนโยบายดังกล่าวด้วย จึงไม่ง่ายเลยที่นโยบายสาธารณะและกระบวนการนโยบายสาธารณะจะมีความยั่งยืน แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่เป็นไปไม่ได้
นายณัฐวุฒิ จิตณรงค์ 63423471005
แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา
แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจ าแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของ เวลา เช่น เช่น นิโคลัส เฮนรี่ (Nicholas Henry) พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์/ขอบเขตเนื้อหา คือ
1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926
2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950
3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970
4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970
5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา
ผลงานของนักวิชาการไทยได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการน าแนวทางการศึกษาแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่ส าคัญคือ
1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร
2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร
3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่
4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ และการวิจัยเรื่ององค์การ
ณัฐภรณ์ ยศพิมพ์ ุ63423471025
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุน รูปแบบของการจัดองค์การราชการ ที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ เช่น การกระจายอำนาจ, การมอบอำนาจะลดหลั่นกันไปเป็นอันดับ โครงการ, สัญญาการฝึกอบรมแบบรับรู้ความต้องการ ต่าง ๆ อย่างที่เรียกว่าการขยายความรับผิดชอบ การเผชิญหน้า และการนำเอาผู้รับบริการเข้ามาร่วมด้วย ล้วนเป็นแนวความคิดที่เป็นปฏิปักษ์กับระบบราชการในแง่ของสาระสำคัญ
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัวปัญหาและพยายามพิจารณาทางเลือกต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้น ๆ โดยสถาบัน เช่น ปัญหายาเสพติด,ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งนักรัฐประศาสนศาสตร์ได้พยายามที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ หรือไม่ก็ปรับปรุงใหม่ให้เป็นสถาบันที่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สามารถบรรลุถึงการแก้ปัญหาที่ใกล้เคียงความเป็นจริง และ ไม่สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายามแสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตาม อำนาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายาม แสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหารนโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
นายอิทธิพัฒน์ แซมกลาง 63423471016
แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา
แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา เป็นการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยจ าแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งกรณีตัวอย่างที่ใช้มิติของ เวลา เช่น เช่น นิโคลัส เฮนรี่ (Nicholas Henry) พยายามชี้ให้เห็นว่า แนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสน ศาสตร์มีอยู่ 5 พาราไดม์/ขอบเขตเนื้อหา คือ
1) พาราไดม์ 1 การแบ่งแยกการเมืองออกจากการบริหาร (The Politic/Administration Dichotomy) ปี ค.ศ.1900-1926
2) พาราไดม์ 2 หลักการบริหาร (The Principles of Administration) ปี ค.ศ.1927- 1937 พร้อมกันนี้ได้เกิดการท้าทายหลักการบริหาร (The Challenge) ขึ้นปี ค.ศ.1938-1947 และการ โต้ตอบการท้าทาย (Reaction to the Challenge) ในระหว่างปี ค.ศ.1947-1950
3)พาราไดม์ 3 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (Public Administration as Political Science) ปี ค.ศ.1950-1970
4) พาราไดม์ 4 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหาร (Public Administration as Management) ปี ค.ศ.1956-1970
5) พาราไดม์ 5 รัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะที่เป็นศาสตร์การบริหารภาครัฐ (Public Administration as Public Administration) ปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา
ผลงานของนักวิชาการไทยได้แก่ พิทยา บวรวัฒนา ได้มีการน าแนวทางการศึกษาแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้มิติของเวลาเข้ามาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการศึกษา โดยเห็นว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ตะวันตกมีวิวัฒนาการมาแล้ว 4 ช่วงสมัยที่ส าคัญคือ
1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ.1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับการ บริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร
2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งแรก (ค.ศ.1950-1960) ได้แก่ ทฤษฎี และแนวการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร
3) สมัยวิกฤติด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ.1960-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่
4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1970-ปัจจุบัน) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ และการวิจัยเรื่ององค์การ
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา63423471128 รุ่นที่46
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration: NPA) จัดเป็นอีกแนวความคิด ที่มีความสำคัญอย่างมาก ซึ่งได้ท้าท้ายแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม อาทิเช่น แนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหารที่ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติของความเป็นจริงของสังคม โดยแนวคิดดังกล่าวถือได้ว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการของวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในเวลาต่อมา กล่าวได้ว่าผลกระทบจากการที่สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้รับในเวลาต่อมาจากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางความคิดของสำนักพฤติกรรมนิยมที่สำคัญคือ 1) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ได้เริ่มนำระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตรสังคมและพฤติกรรมมาใช้ในงานวิจัยพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ จนขาดความเอาใจใส่ต่องานวิจัยประยุกต์2) การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มุ่งไปสู่ทิศทางของการวิจัยเชิงปริมาณมากขึ้น ในขณะที่ละเลยการวิจัยเชิงคุณภาพ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสำรวจได้กลายเป็นรูปแบบวิจัยที่เปรียบเสมือนแก้วสารพัดนึกสำหรับการแสวงหาข้อมูลเพื่อตอบปัญหาการวิจัยทุกปัญหาทางรัฐประศาสนศาสตร์ในขณะที่รูปแบบการวิจัยอื่นๆ ดังเช่น การวิจัยเชิง ประวัติศาสตร์ การศึกษาเฉพาะกรณีจุลภาคและการวิจัยสนามซึ่งมีคุณลักษณะในการแสวงหาข้อมูล เจาะลึกภายในองค์การกลับไม่ได้รับการประยุกต์ใช้เท่าที่ควร 3) นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ภายใต้สำนักพฤติกรรมนิยมได้ทุ่มเทความสนใจไปสู่การสร้างทฤษฎีระดับสูงและทฤษฎีระดับกลางมากยิ่งกว่าทฤษฎีระดับล่าง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงควรมีลักษณะที่เป็นองค์ความรู้สากล ซึ่งไม่จำกัดด้วย วัฒนธรรม เวลา สถานการณ์ และระเบียบวิธีวิจัยทั้งที่ในความเป็นจริง ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มักมีลักษณะที่อยู่ภายใต้ข้อจำกัดต่างๆไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งของจำกัดทางวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น นักวิชาการชาวอเมริกันมักกำหนดให้ประสิทธิภาพขององค์การเป็นวัตถุประสงค์หลักของการบริหารรัฐกิจในขณะที่การบริหารรัฐกิจในประเทศกำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทยยึดถือระเบียบและแบบธรรมเนียม เป็นวัตถุประสงค์หลัก เป็นต้น และ 4) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เริ่มได้รับการพัฒนาเข้าสู่ความ เป็นสหวิทยาการมากยิ่งขึ้น ความเป็นสหวิทยาการมีส่วนทำให้นักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์เกิดความรู้สึกว่า สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ตกอยู่ในสภาพ “เจ้าไม่มีศาล” หรือ “กษัตริย์ผู้ไร้บัลลังก์” ความรู้สึกเป็นเจ้าของสาขาวิชาและความมั่นใจในตนเองของนักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทาย และเริ่มมองว่าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์กำลังเข้าสู่วิกฤตการณ์ทางเอกลักษณ์
แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทางด้วยกันคือ แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา มีจุดเน้นที่สำคัญ คือ การพรรณนาให้เห็นถึงแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขตและจุดเน้นมีจุดเน้นที่สำคัญคือ การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อตอบสนองปริมณฑลที่เป็นการบริหารงานภาครัฐและตามจุดสนใจที่การบริหารงานภาครัฐให้ความสำคัญในขณะนั้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์ มีจุดเน้นที่สำคัญคือ ความต่อเนื่องในการสร้างองค์ความรู้และการนำไปใช้เพื่อสนับสนุนต่อการบริหารงานภาครัฐในแต่ละหน่วยการวิเคราะห์โดยตรง
นางสาวเกศรา จักรโนวัน รหัสนักศึกษา63423471128 รุ่นที่46
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นการบริหารที่มีจุดมุ่งเน้นไปที่วัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความคุ้มค่าของเงินรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้ รวมถึงการมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของประชาชน ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ด้วย นอกจากนี้แนวคิดดังกล่าวยังมุ่งเน้นให้ความสนใจทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์การไปพร้อมๆกัน รวมตลอดทั้งมีการใช้องค์ความรู้แบบบูรณาการ ทำให้มีแนวคิดและทฤษฎีเกิดขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากในปัจจุบัน เช่น การจัดการเครือข่าย การจัดการเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ องค์การแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ องค์การแห่งนวัตกรรม การจัดการนวัตกรรม การบริหารความเสี่ยง รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวความคิดที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงในระบบการบริหารภาครัฐมากที่สุด และยังจัดว่าเป็นทิศทางการพัฒนาของวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีความชัดเจนมากที่สุดในปัจจุบัน
กรอบแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคต่างๆ 5 ยุคคือ 1) กรอบแนวคิดและ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคบุกเบิก 2) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคโครงสร้างการหน้าที่ 3) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคพฤติกรรมนิยม 4) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุครัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (New Public Administration: NPA) และ5) กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM)
การจัดการภาครัฐแนวใหม่หรือ New Public Management กล่าวได้ว่าเป็นพาราไดม์ (Paradigm) ที่สำคัญที่นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ให้การยอมรับในปัจจุบันว่าเป็นกรอบแนวคิดที่ถูกนำมาใช้ในการบบริหารภาครัฐในปัจจุบัน ได้เป็นอย่างดี โดยที่แนวคิดการบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ถูกมองว่าเป็นปรัชญาการบริหารที่รัฐบาลนำมาใช้ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อให้การบริหารภาครัฐมีความทันสมัย(New Public Management is a management philosophy used by Governments since the 1980s to modernise the Public Sector) (Wikipedia Encyclopedia ค้นคืนใน http://en.wikipedia.org/wiki/ New_Public_Management) และถ้าจะกล่าวถึงสาระสำคัญของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่นี้แล้วนักวิชาการคนที่สำคัญแรกๆ ที่ได้กล่าวถึงไว้ก็คือ โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะได้สรุปให้เห็นสาระสำคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไว้ ดังต่อไปนี้ (Boston 1996) 1. มองว่าการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นสากล หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจ เอกชนและการบริหารงานของภาครัฐ 2. ปรับเปลี่ยนจากการให้น้ำหนักความสำคัญที่เดิมมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อการควบคุมปัจจัยนำเข้าหรือทรัพยากรและกฎระเบียบต่าง ๆ มาเป็นการควบคุมในเรื่องของการผลผลิตและผลลัพธ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนการของการทำงาน (process accountability) มาเน้นภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (accountability for results) แทน 3. ให้ความสำคัญต่อเรื่องของการใช้ความสามารถหรือทักษะการบริหารมากกว่าการที่ให้ความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายแต่เพียงอย่างเดียว 4. ให้ความสำคัญต่อการมอบอำนาจการควบคุมของหน่วยงานกลาง (devolution of centralized power) ไปให้หน่วยงานผู้ปฏิบัติ เพื่อให้ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงานมีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารและการดำเนินงาน 5. เน้นปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ โดยเฉพาะการแยกส่วนระหว่างการกำกับดูแลควบคุมที่เป็นภารกิจงานเชิงพาณิชย์และไม่ใช่เชิงพาณิชย์ออกจากกัน รวมถึงแยกภารกิจงานเชิงนโยบายและการให้บริการออกจากกันอย่างเด็ดขาด 6. เน้นการแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน (privatization) และให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (outsourcing) รวมทั้งประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงาน (competitive tendering) เพื่อลดต้นทุนและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการให้สูงขึ้น 7. ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญญาจ้างบุคลากรของภาครัฐให้มีลักษณะเป็นระยะสั้นและกำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้ 8. เลียนแบบวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน เช่น การวางแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ การทำข้อตกลงว่าด้วยผลงาน (performance agreement) การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน การจัดจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานและการให้ความสำคัญต่อการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ (corporate image) 9. มีการสร้างแรงจูงใจและให้รางวัลตอบแทนในรูปของตัวเงิน (monetary incentives) มากขึ้น 10.สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
การเปลี่ยนแปลงในด้านรัฐประศาสนศาสตร์ บทบาทและหน้าที่ต่างๆเป็นการเปลี่นแปลงครั้งใหญ่ เปรียบการเปลลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวัตน์เลยก็ได้ครับ ยิ่งเป็นทางการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในการบริหาร การเมือง การใช้การเป็นอยู่ในการดำรงชีพ ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงทั้งหมด และนำไปสู่การพัฒนา ด้านต่างๆใหดีขึ้นและเกิดประโยชน์มีผลตอบแทนในแต่ละประเทศ ทั้งในประเทศและนอกประเทศ รวมไปถึงการดำรงชีวิตที่ดีขึ้น
การเปลี่ยนแปลงแนวคิดแบบเก่าไปสู่รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อพฤติกรรเชิงปทัสถาน ในด้านประจักษ์นิยม เนื่องจากในอดีต การบริหารได้มีการปรับปรุงแก้ไข เปลี่ยนแปลงเรื่อยมา มีการศึกษาผลดีผลเสียในด้านต่าง ๆในการบริหาร บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารแนวใหม่ ผู้บริหารระดับสูงผู้ปกครองที่ใช้อำนาจอธิปไตยควรมีความรับผิดชอบสูงและมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนารูปแบบการบริหารแนวใหม่ เช่น การใช้วิกฤติให้เป็นโอกาส ในด้านเศรษฐกิจ สินค้าอุปโภค บริโภค การใช้ภูมิทางด้านรัฐศาสตร์เป็นตัวช่วยในด้านการส่งออกสินค้าเกษตรต่าง ๆของไทย เช่น ข้าว ยางพารา น้ำตาล แป้งมันสัมปะหลัง ยารักษาโรค อื่น ๆ เพื่อส่งออกสินค้าเหล่านี้ไปยังต่างประเทศ การบริหารจะก่อให้เกิดการปฎิวัติรูปแบบองค์กรหลากหลายมิติ เช่น ภาครัฐ เอกชน ประชาชน ชุมชนต้นแบบ มีส่วนร่วมในการบริหารองค์การให้รับกับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ นำมาซึ่ง การเกิดการจ้างงาน สร้างอาชีพื สร้างรายได้ การดำเนินชีวิตที่ดี เกิดการพัฒนาชุมชน สังคม และการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข
อิทธิณัฐ แซมกลาง 63423471284
จากการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุค
ต่างๆจะเห็นได้ว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีความเหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
(NPA) ค่อนข้างมากขณะที่จะมีความแตกต่างกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิม (OPA) และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) เป็นอย่างมาก โดยความเหมือนและความแตกต่างดังกล่าวในแต่ละประเด็นมีดังนี้
การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) ให้ความสำคัญกับพลเมือง (Citizen First) ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ความเป็นประชาธิปไตย (Democratic) ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง (Accountability) การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธสัญญาต่อพลเมืองและชุมชน (Commu-nity) เพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริง
ขณะที่ OPA ยังมองประชาชนเป็นเพียงผู้รอรับบริการจากรัฐ (client) เน้นการบริหารภายใน
มากกว่าภายนอก ยังคำนึงถึงเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัดเป็นค่านิยมหลักในทางการบริหาร จัดองค์การแบบทางการที่เน้นสายการบังคับบัญชา ผลประโยชน์สาธารณะถูกกำหนดโดยฝ่าย
การเมืองและข้าราชการประจำ หรือกำหนดไว้แล้วในนโยบายและกฎหมายต่างๆ ความรับผิดชอบได้เป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจต่าง ๆ จึงถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มนักการเมืองและข้าราชการ พลเมืองหรือประชาชนจึงเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับที่จากัด การปฏิบัติงานก็เป็นไปกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ จนส่งผลให้เกิดการทำงานที่ขาดประสิทธิภาพ
และล่าช้า ข้าราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทำงานและถูก
ปิดกั้นในความคิดสร้างสรรค์
การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมาก ไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในกาเปลี่ยนแปลงสังคม ค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่อประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ควาสำคัญ
กับเรื่องความเสมอภาค เป็นธรรม ความรับผิดชอบได้
จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้
มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกัน เป็น
แนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ
(anti-logical positivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS
มาขยายรายละเอียดของ NPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ
ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหา
ความต้องการหรือความจำเป็นของพลเมือง ตลอดจน
เรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่า NPA และ
ยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐาน
ของ NPS สำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการ
สาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับการจัดการภาครัฐแนว
ใหม่ (NPM) นั้นมีอยู่หลายประเด็นที่แตกต่างกันอย่าง
สิ้นเชิง เพราะความตั้งใจของ NPS ในการเป็นแนวคิด
หรือวาทกรรมเชิงวิพากษ์ NPM ตั้งแต่ที่ NPS ไม่เห็น
ด้วยที่จะมองประชาชนเป็นลูกค้าเหมือน NPM แต่กลับ
เห็นว่าประชาชนคือพลเมืองที่ต้องการผลประโยชน์ของ
ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ระยะยาวมากกว่าผล
ประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ระยะสั้น ในการ
บริการสาธารณะนักบริหารรัฐกิจก็เป็นเพียงผู้รับผิดชอบ
ร่วมหาใช่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการไม่
ประสิทธิภาพและผลิตภาพไม่ใช่เรื่องที่มีความสำคัญ
มากไปกว่าความเสมอภาค เป็นธรรม และความรับผิด
ชอบได้ของภาครัฐโดยเห็นว่าค่านิยมในเรื่องความเป็น
ธรรมจริยธรรมและความรับผิดชอบได้ต่างหากที่เป็น
เป้าหมายของการบริการสาธารณะ การบริการของรัฐ
ไม่ได้เป็นการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้แก่พลเมือง
เท่านั้นแต่มันคือการส่งมอบความเป็นประชาธิปไตยไป
สู่พลเมือง
2. ผลการสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ พบว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) มีรากฐานสำคัญ
มาจาก 4 แนวคิด
คือ (1) ประชาธิปไตยพลเมือง (2) ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม
(3) มนุษย์นิยมองค์การและ
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (4) รัฐประศาสนศาสตร์
หลังสมัยใหม่ สาระสำคัญหรือองค์ความรู้ของ NPS ได้
มาจากการตีความ วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์แนวคิด
ทางรัฐประศาสนศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะการวิพากษ์
แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) ซึ่งจากการ
ศึกษาวิจัยสามารถสรุปถึงสาระสำคัญของ NPS
ธัคภัศ ดุละลัมพะ 63423471009
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ เข้ามาแทนที่การบริหารงานภาครัฐแบบดั้งเดิม ด้วยเหตุผล สำคัญ คือ แนวคิดเสรีนิยมใหม่ การเปลี่ยนแปลงบริบททางการเมือง วิกฤติเศรษฐกิจที่แต่ละประเทศ ต้องเผชิญ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงการเพิ่มบทบาทของหน่วยงานที่ให้ คำปรึกษาด้านการจัดการ แนวคิดนี้ เน้นการนำแนวทางของภาคธุรกิจมาประยุกต์ใช้กับการบริหารภาครัฐ หรือ รัฐบาลผู้ประกอบการ ให้ความสำคัญกับการสร้างผลิตภาพสูงสุด อาศัยกลไกตลาด เปิดโอกาส ให้มีการแข่งขัน การมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ การลดขนาดองค์การให้เล็กลง ตลอดจนมอง ประชาชนในฐานะลูกค้า หรือผู้รับบริการที่รัฐต้องมอบสินค้าหรือบริการสาธารณะอย่างทั่วถึงและ เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ถึงแม้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะได้รับความนิยมและถูกนำมาใช้ ในการจัดการภาครัฐของรัฐบาลไทยหลายยุคหลายสมัยจนถึงปัจจุบัน แต่ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ ในหลาย ๆ ประเด็น ได้แก่ แนวคิดนี้เสมือน “จักรพรรดิที่สวมอาภรณ์ใหม่” หรือเรียกได้ว่า “เหล้าเก่า ในขวดใหม่” เนื่องจากเมื่อนำแนวคิดนี้มาปรับใช้แล้ว ปัญหาต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นในระบบการบริหาร ภาครัฐแบบเดิมยังคงเกิดขึ้น และยังเป็นการทำลายความเป็นระบบราชการ ไม่ว่าจะเป็นความยุ่งยาก สลับซับซ้อนจากการจัดท าตัวชี้วัดในระบบการรายงานผล และเพิ่มการใช้จ่ายงบประมาณ รวมถึง ทรัพยากรต่าง ๆ ขณะเดียวกันยังเป็นแนวคิดที่เอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มข้าราชการระดับสูงและ ระดับกลาง ตลอดจนเชื่อว่า แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไม่ได้มีลักษณะที่เป็นสากล หรือไม่ได้ เป็นการจัดการภาครัฐส าหรับทุกฤดูกาล แต่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม และปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งค่านิยมในการบริหารที่แตกต่างกัน
มุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการด าเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหาก าไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital)
ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
โดยพัฒนาการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐถูกแบ่งออกเป็น 3 ยุคใหญ่ ที่มีการท้ายทายและ เปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ในการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ คือ ยุคแรก ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (1887-1926) แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จะมุ่งเน้นไปถึงการค้นหาหลักการบริหาร ที่มุ่งน าไปใช้ใน การเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของภาครัฐ ยุคที่สอง ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1945-1970) แนวคิดและ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ถูกท้าทายและมุ่งเน้นไปที่การศึกษานโยบายสาธารณะ การบริหารรัฐกิจ เปรียบเทียบ และการศึกษาทฤษฎีองค์การในเชิงพฤติกรรมศาสตร์ และยุคที่สาม ช่วงเวลาในปีค.ศ. 1970 ถึง ค.ศ. 2008 รัฐประศาสนศาสตร์ได้มีการทบทวนอัตลักษณ์ของสาขาวิชา จนน ามาสู่การสร้างรัฐประศาสนศาสตร์ใน ความหมายใหม่ (new public administration) ที่มุ่งประเด็นไปยังการบริหารงานภาครัฐที่สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคมในระดับมหภาค โดยในปัจจุบันรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ขยาย ขอบเขตสอดคล้องกับประเด็นร่วมสมัย ซึ่งในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแส การพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ทั้งด้าน การศึกษาเทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการบริหารงานภาครัฐ
การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ (Public Administration) ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่ การเปลี่ยนผ่านความสู่ยุครัฐชาติการศึกษาการบริหารงานภาครัฐ ยิ่งเพิ่มความสนใจมากขึ้นจนเกิดเป็นศาสตร์สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ที่มีแนวคิดและทฤษฎีที่สามารถน ามาเป็นหลักปฏิบัติในการ บริหารงานภาครัฐได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมีการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน ภาครัฐอย่างเฉพาะด้าน ส่งผลให้องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์มีความเฟื่องฟูเพราะเกิดหลักการบริหารงาน ภาครัฐที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างเป็นสากล อย่างไรก็ตามพัฒนาการศึกษาการบริหารงานภาครัฐก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องด้วยบริบทการ พัฒนาและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติเอกลักษณ์ในองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่เปลี่ยน จากความพยายามแยกค่านิยมหรือการเมืองออกจากการบริหาร ซึ่งในท้ายที่สุดท าให้นักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องกลับมาสนใจค่านิยมและนโยบายสาธารณะกับการบริหารงานภาครัฐมากขึ้น ในขณะเดียวกันในด้าน ทฤษฎีองค์การต้องย้อนกลับไปให้ความสนใจกับการพัฒนาหลักการบริหาร ที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงพฤติกรรม ศาสตร์มากขึ้น ด้วยเหตุนี้สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์จึงถูกเข้าผนวกเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์สาขาวิชา รัฐศาสตร์และการจัดการ ซึ่งเป็นการสูญเสียความเป็นอัตลักษณ์ของสาขาวิชาไป
จนในช่วงปลายปีค.ศ. 1960 ถึงต้นปี ค.ศ. 1970 ได้มีการทบทวนสถานภาพของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์อีกครั้ง ส่งผลให้การรื้อฟื้นอัตลักษณ์องค์ความรู้ให้กับสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ได้รับความสนใจ โดยมีการ สร้างแนวคิดรัฐประศานศาสตร์ในความหมายใหม่ (new public administration) ในแนวคิดดังกล่าวนี้ส่งให้การ บริหารจัดการภาครัฐ ปรับเปลี่ยนมาศึกษาบทบาทการบริหารงานภาครัฐกับประเด็นสาธารณะ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการและความหลากหลายทางสังคมมากขึ้น และได้เกิดแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขึ้น (new public management) ขึ้นในปีค.ศ. 1980 เพื่อปฏิรูปการท างานของภาครัฐซึ่งเป็นการพลิกบทบาทการ บริหารงานของภาครัฐที่ต้องด าเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการด าเนินกิจการสาธารณะ จนกลายเป็นกระแสการ พัฒนาการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ในขณะเดียวกันช่วงเป็น ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาแนวคิดการบริการ สาธารณะแนวใหม่ (new public service) ถูกเสนอขึ้นมาในการศึกษาและน าไปปรับปรุงการบริหารงานของ ภาครัฐ ซึ่งให้ความสำคัญกับบทบาทภาคพลเมืองในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการด าเนินกิจการสาธารณะ แนวคิดทั้งสองดังกล่าวได้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานภาครัฐจนมาถึงปัจจุบัน
ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
ธัคภัศ ดุละลัมพะ 63423471009
Tom Burns แ ล ะ G.M. Stalker (1961) เ ขี ย น Mechanistic and Organic System ใน The Management of Innovation ว่ำในสภำพแวดล้อมที่ไม่เปลี่ยนแปลง (stable conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ mechanic ซึ่งยึดกฎระเบียบที่เป็นทางการ การสื่อสาร แบบแนวดิ่ง และใช้การตัดสินใจแบบใช้โครงสร้าง ขณะที่สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (dynamic conditions) ควรใช้โครงสร้างองค์กำรแบบ organic ซึ่งยืดหยุ่น การมีส่วนร่วม และ ขึ้นอยู่กับพนักงานในการกำหนดจุดยืนและความสัมพันธ์ เช่น ในการสร้างภาวะสร้างสรรค์ องค์การ แบบ organic ต้องการให้องค์การสนับสนุนเรื่องนวัตกรรม แนวคิดการจัดองค์การนี้สามารถ ประยุกต์ใช้ในการออกแบบองค์การให้มีประสิทธิภาพที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่คงที่หรือ เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะโต้แย้งทฤษฎียุคดั้งเดิมที่เน้นวิธีที่ดีที่สุดวิธีเดียว (one best way) หลายๆองค์การ ได้มีการปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างและการทางานให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น
Peter M. Blau และ W. Richard Scott (1962) ใน Formal Organization: A Comparative Approach ในหัวข้อ The Concept of Formal Organization กล่าวว่า ในทุก องค์การประกอบด้วยองค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยที่องค์การไม่เป็นทางการจะ สนับสนุนองค์การที่เป็นทางการในการสร้างปทัสถาน (norm) ในกำรปฏิบัติงานซึ่งไม่ได้กำหนดไว้อยู่ ในกฎและระเบียบ และเป็นโครงสร้างทางสังคม (social organization) ซึ่งประกอบด้วย ความสัมพันธ์ทางสังคม (social relation) และความเชื่อและความสนใจร่วมกัน (shared belief and orientation) ในการสร้างแนวปฏิบัติร่วมกันในองค์การแนวคิดนี้ในผู้บริหารองค์การทั้งภาครัฐ และเอกชนจะต้องเข้าใจลักษณะขององค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อที่จะสร้างความร่วมมือร่วมใจกันในกำรบรรลุเป้าหมายองค์การที่กำหนดไว้