1.D of A คือการพัฒนาการบริหารเป็นการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิบัติรูปการโครงสร้างกระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารให้มีเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งเพื่อที่จะรองรับนโยบายกับ
2.A of D คือการบริหารเพื่อการพัฒนาเป็นการเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งขึ้นความสามารถที่มีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบตัติามนโยบายเพื่อรองรับภารกิจของการ บริหารการพฒันาที่วางแผนไว้
ส.ท.อำนาจ สิงห์ใหญ่
รหัสนักศึกษา 64423471305
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ บริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา) หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาจรวมถึงสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงานกลุ่ม ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
องค์ประกอบมีอยู่ 2 องค์ประกอบ คือ
1.D of A คือการพัฒนาการบริหารเป็นการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิบัติรูปการโครงสร้างกระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารให้มีเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งเพื่อที่จะรองรับนโยบายกับ
2.A of D คือการบริหารเพื่อการพัฒนาเป็นการเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งขึ้นความสามารถที่มีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบตัติามนโยบายเพื่อรองรับภารกิจของการ บริหารการพฒันาที่วางแผนไว้
ตัวอย่าง
ชายหาดบางแสนตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข ปัจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 44,312 คน แบ่งเป็นชาย 19,929 คน หญิง 24,383 คน จำนวนบ้าน 23,925 หลังจำนวนครอบครัว 9,128 ครอบครัวผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 33,906 คน แบ่งเป็นชาย14,543 คน หญิง 19,363 คน ความหนาแน่นของประชากรภายในเขตเทศบาลเฉลี่ย 2,186 คนต่อตารางกิโลเมตร ประชากร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลตั้งแต่ปากคลองบางโปรงจนถึงหาดบางแสนล่าง และสองข้างเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ ได้แก่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข3 (ถนนสุขุมวิท) บริเวณตลาดหนองมนและทางหลวงจังหวัดหมายเลข3137 ซึ่งแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 เข้าสู่ชายหาดบางแสน ชายฝั่งทะเลบางแสนเป็ นหาดทรายยาวตั้งแต่แหลมแท่นไปสุดเขตเทศบาล ความลึกของท้องทะเล2 เมตร ปรากฏในระยะห่างจากชายฝั่งทะเลตั้งแต่600 เมตรถึง 2 กิโลเมตร ขึ้นไป ชายหาดบางแสนเป็นหาดสาธารณะในการส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐานการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมาตรฐานด้านการบริการการท่องเที่ยว ประชาชนที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่เขตเทศบาลเมืองแสนสุขอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีก็ต้องมีความคิดเห็นต่อการส่งเสริม การท่องเที่ยวบริเวณชายหาดบางแสนของเทศบาลเมืองแสนสุขด้วย เพราะประชาชนเป็นผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียจากการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส.ท.หญิง พรลภัส พงษ์พา 64423471301 ประวัติศาสตร์ขององค์การและการจัดการสมัยใหม่สะท้อนให้เห็นความผูกพันระหว่างองค์การและ
การเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด กล่าวคือนับตั้งแต่เฟรดเดอร์ริคเทเลอร์ได้ประดิษฐ์คิดค้นและ นาเสนอหลักการการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เพื่อเป็นรากฐานและ หลักการบริหารองค์การ หลักการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ทาให้เกิดการปฏิวัติทั้งในด้านรูปแบบ ความคิดและแนวการปฏิบัติของการบริหารองค์การ ในด้านหนึ่ง ลัทธิเทเลอร์ได้สร้างคุณูปการในการ พัฒนาอุตสาหกรรมอย่างมากมาย โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและผลผลิตของโรงงาน แต่ในอีกด้านหนึ่งลัทธิเทเลอร์ได้รับคาวิพากย์วิจารณ์ว่าทาให้องค์การในภาพรวมและงานในองค์การ เปลี่ยนสภาพเป็นลักษณะ “ กดขี่มนุษย์” (dehumanized) ในยุคถัดมา เฮนรี ฟอร์ด ได้ประดิษฐ์ สายการผลิตแบบเคลื่อนที่ (moving assembly line) สาหรับองค์การอุตสาหกรรม ซึ่งมีผลทาให้ สามารถลดเวลาการผลิต สร้างมาตรฐานผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตได้อย่างมหาศาล จนถึงอีกยุคหนึ่งซึ่งมีการสร้างองค์การให้มีลักษณะสมบูรณ์มากข้ึน ทั้งในด้านการจัดรูปแบบองค์การ ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรมและการนาเสนอหลักการบริหารสมัยใหม่เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพ (efficiency) และประสิทธิผล (effectiveness) ขององค์การ ภายใต้บริบทการ ขยายตัวของขอบเขตอุตสาหกรรมและการแข่งขันที่มีความรุนแรงและเข้มข้นมากขึ้น พื้นฐานดังกล่าว นาไปสู่การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้แนวความคิดและทฤษฎี หลักการและรูปแบบ กระบวนการและ เทคนิคต่างๆเกี่ยวกับองค์การและการจัดการที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เป็น จริงในแต่ละยุคสมัย
ในปัจจุบัน ความสนใจและการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงองค์การ (organizational change) มีความหลากหลายทั้งในด้านหลักการพื้นฐาน มุมมอง และระเบียบวิธีการ การศึกษาแนวนวัตกรรม องค์การ (organizational renewal) ซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลแนวคิดนิเวศย์วิทยาประชาการ (population ecology) เน้นการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์การคล้อยตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม การศึกษา การพัฒนาองค์การแนวดั้งเดิม (Traditional OD) ซึ่งได้รับอิทธิพลความคิดการเปลี่ยนแปลงตามแผน (planned change) มุ่งการประยุกต์ใช้พฤติกรรมศาสตร์เพื่อบาบัดรักษาสุขภาพ (therapy) และปรับองค์การให้มีประสิทธิผล และการศึกษาการพัฒนาองค์การแนวใหม่ (organizational transformation) เน้นการเปลี่ยนสภาพองค์การให้มีความสามารถเรียนรู้และปรับตัวไปสู่คุณภาพใหม่ ที่ตอบสนองความต้องการของคนและองค์การ ผลที่ตามมาคือมีการนาเสนอการเปลี่ยนแปลงองค์การ หลากหลายจุดมุ่งหมายและรูปแบบ การเลือกใช้รูปแบบการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะกับโลกความจริง จึงยากลาบากมากขึ้น
ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศมีอานาจและอิทธิพลสูงในการทาธุรกิจและสามารถเปลี่ยนแปลง เกือบทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้าง สินค้าและผลิตภัณฑ์ ตลาด และ กระบวนการทางาน เทคโนโลยีสารสนเทศยังทาหน้าที่เพิ่มคุณค่าให้กับทรัพย์สินที่มองไม่เห็น (invisible assets) เช่น ความรู้ ทักษะ และการฝึกอบรม นอกจากนี้เทคโนโลยียังเป็นตัวขับเคลื่อน ให้เกิดความยืดหยุ่นของการทางาน ปรับเปล่ียนความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ ขององค์การไม่ว่าจะเป็น ในด้านลูกค้า ผู้ป้อนสินค้า พันธมิตรทางธุรกิจ และผู้ปฏิบัติงานให้มีโอกาสเข้ามารับรู้และมีส่วนร่วม ในองค์การมากขึ้น อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างเงื่อนไขความจาเป็นที่สาคัญคือ บุคคลากรต้องได้รับการศึกษาอบรมและมีแรงจูงใจในการทางาน
ส.ท.หญิง นัทธ์มนต์ สินอุดมวงศา รหัส 64423471342
ตอบ
1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน(Open&ConnectedGovernment)โดยต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทางานบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปัน ข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทางานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือ ภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐ ไม่ควรดาเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการแทน โดยการจัดระเบียบ ความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทางานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทางานภายในภาครัฐ ด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง(Citizen-centricgovernment)โดยต้องทางานในเชิงรุกและมอง ไปข้างหน้า ตั้งคาถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการ และตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการ หรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ(proactive public services) รวมทั้งใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของทางราชการ (big government data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการ สาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (personalized หรือ tailored services) พร้อมทั้ง อานวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่าง ๆ สามารถเสร็จสิ้น ในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการ ของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันไม่ว่าจะมาติดต่อด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & high performance government) โดยต้องทางาน อย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์ องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง อย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง ทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสานักงานสมัยใหม่ รวมทั้ง ทาให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเหมาะสม กับบทบาทของตน
ส.ท.หญิง นัทธ์มนต์ สินอุดมวงศา รหัส 64423471342
ข้อ 5.2
ตอบ
1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน(Open&ConnectedGovernment)โดยต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทางานบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปัน ข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทางานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือ ภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐ ไม่ควรดาเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการแทน โดยการจัดระเบียบ ความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทางานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทางานภายในภาครัฐ ด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง(Citizen-centricgovernment)โดยต้องทางานในเชิงรุกและมอง ไปข้างหน้า ตั้งคาถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการ และตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการ หรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ(proactive public services) รวมทั้งใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของทางราชการ (big government data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการ สาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (personalized หรือ tailored services) พร้อมทั้ง อานวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่าง ๆ สามารถเสร็จสิ้น ในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการ ของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันไม่ว่าจะมาติดต่อด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & high performance government) โดยต้องทางาน อย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์ องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง อย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง ทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสานักงานสมัยใหม่ รวมทั้ง ทาให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเหมาะสม กับบทบาทของตน
ส.อ.ภีมวัศ จั่นอยู่
64423471308
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งท่ีเป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าว นี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการ บริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา) หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็ นรูปธรรม อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็ นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็ นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ม ผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ (business civilization) บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง
การบริหารงานภาครัฐแบบเก่า
คือ การบริหารจัดการภาครัฐที่เน้นสายบังคับบัญขา และกฎระเบียบที่ เคร่งครัด โครงสร้างองค์กรที่ดีที่สุดคือระบบราชการแบบรวมศูนย์ โครงการถูกน าไปปฏิบัติโดยกาควบคุมจากบนลงล่างเพื่อให้การบังคับ บัญชาและการสอดส่องดูแลท าได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นแล้วยังมีจ ากัดดุลย พินิจในการบริหารงาน มุ่งเน้นประสิทฺธิภาพและความมีเหตุผลเป็นค่านิยม ส าคัญในการบริหารงานขององค์การ
การบริหารงานภาครัฐแบบใหม่
คือ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐโดยน าหลักการเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ ความเป็นเลิศ ซึ่งตั้งอยู่บนสมมติฐานของความเป็นสากลของทฤษฎีการบริหาร และเทคนิค วิธีการจัดการ ว่า สามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในแง่ของการ บริหารรัฐกิจ และการบริหารธุรกิจโดยการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่นั้น จะมุ่งเน้นถึงวัตถุประสงค์และสัมฤทธิผลของ การด าเนินงาน ทั้งด้านผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ และสร้าง ความพึงพอใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ โดยน าเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้มากขึ้น
ดังนั้นการบริหารงานภาครัฐที่งแบบเก่าและแบบใหม่มีความแตกต่างกันอย่างมาก เนื่องจากมีการนำโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้
ส.ท.พุทธิพงศ์ ดีเบา
รหัสนักศึกษา 64423471251
การเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ตอบ
การพฒันาการบริหาร หมายถึงการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือปฏิรูป สภาพแวดล้อมนิเวศวิทยาโครงสร้างกกระบวนการรวมถึงเทคโนโลยีและพฤตกิรรมการบริหาร
การบริหารการพฒันาหมายถึงความสามารถในการลงมือปฏิบัติตามนโยบายแผน แผนงานโครงการหรือกิจกรรมพฒันาจริงๆเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงตามที่ได้วางแผนไว้ ลว่ งหน้า ซงึ่ เน้นความเจริญเตบิ โตทางการบริหาร
องค์ประกอบของการบริหารการพฒันา
การบริหารการพฒันาจะมีองค์ประกอบหลกัๆอยู่2ประการคือองค์การพฒันาการ บริหารและองค์ประกอบการบริหารการพฒันาโดยแตล่ะองค์ประกอบหลกันีจ้ะมีองค์ประกอบรอง อีกด้วย
1.องค์ประกอบหลกัการพฒันาการบริหารหมายถึงการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุง หรือปฏิรูปสิ่งแวดล้อมนิเวศวิทยา รวมถึงเทคโนโลยี พฤตกิ รรมการบริหาร
2.องค์ประกอบหลกัการบริหารเพื่อการพฒันา(DevelopmentofAdministration) หมายถึงการนาเสนอสมรรถนะหรือความสามารถที่มีอยู่ในระบบบริหารมาลงมือปฏิบตัติาม นโยบายแผนแผนงานโครงการหรือกิจกรรมพฒันาจริงๆเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่ว่า แผนไว้ลว่งหน้า
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพฒั นา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรมนามธรรมทงั้ ภายนอก ภายในและรอบๆองค์การและสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าวนี้มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมของการพฒันาการบริหารและการบริหารเพื่อการพฒันาหรือในทางที่ กลบักนัสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม อาจรวมถึงสภาพ ภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพสว่นสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรมได้แก่ การประดษิฐ์คดิค้นทางสงัคมอนัรวมถึงสหภาพแรงงานกลมุ่ผลประโยชน์อดุมการณ์อารยธรรม ธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกบคุ คล ระบบการเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า
การบริหารการพัฒนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “การบริหารงานภายนอก” (external administration) หรือต้องเกี่ยวข้องกบั ปัจจยั ภายนอกองค์การ (externalities) เพื่อโน้มน้าวให้ หนว่ยงานและบคุคลหนัมาสนบัสนนุนโยบายและให้ความร่วมมือในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายของ การบริหารการพัฒนา ปรากฏเช่นนี้คือให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา จาเป็นต้องเข้าไปมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม นั่นคือ หน่วยงานเหล่านี้จะได้รับผลกระทบจาก สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมเองก็จะได้ รับผลกระทบจากการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานด้วย เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความสาคญัตอ่การบริหารการพฒันาและการบริหารการพฒันามีความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมดังกล่าวแล้ว
ส.ท.ยศพล จินดาวงค์
รหัส นศ. 64423471281
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
-องค์การจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ความคิดสร้างสรรค์จะเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลงานใหม่ การให้บริการระบบใหม่ ที่จะตอบสนองความต้องการของลูกค้า ปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง อาทิ สภาพแวดล้อมทั่วไป การเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม ผู้บริหารจึงควรจะต้องแสวงหาความคิดใหม่ๆ องค์ความรู้ใหม่ เพื่อพัฒนาองค์การต่อไปให้ประสบผลสำเร็จ
1. การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม (Adaptation to the Environment)
เมื่อสภาพแวดล้อมเกิดการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารเลือกที่ใช้การปรับเปลี่ยนกิจกรรม ภายในองค์การให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปไม่พยายามใช้อิทธิพลไปปรับเปลี่ยน สภาพแวดลอ้มที่เปลี่ยนแปลงโดยวิธีการที่ใชใ้นการปรับตัวจัดแบ่งได้เป็น2วิธีได้แก่
1.1การปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์การเมื่อสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไป ผู้บริหารจำเป็นต้องเร่งศึกษาความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนและปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การเพื่อให้ รองรับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนอย่างเร่งด่วน เช่น การปรับโครงสร้างการบริหาร การจัดแบ่งแผนกงานขององคก์าร
1.2 การคาดการณ์ล่วงหน้า เป็นวิธีรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมท่ีนิยมใช้ โดยผู้บริหารจะทำการพยากรณ์ คาดการณ์สิ่งท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต แล้วจึงวางแผนเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยด้านเศรษฐกิจ คู่แข่งขันและพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย
จ.ท.ศรุต ลึกวิลัย
64423471335
1. กระบวนการปรับปรุงโครงสร้างและส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง เช่น ระบบ กระบวนการ องค์ความรู้ บุคลากร โดยมีการวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ และบริหารปฏิกิริยาตอบโต้การเปลี่ยนแปลง
2. การรวมพลังของหลักการบริหารทั้ง 4 ( 4M ) คือ บุคลากร เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการ เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่การเปลี่ยนแปลง โดยมีการจัดการเป็นแกนกลางในการดึงพลังจากบุคลากรให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง จัดสรรงบประมาณและสรรหาวัสดุให้เพียงพอ
เป้าหมาย
1. เพื่อสนับสนุนให้องค์การสามารถผ่านช่วงของการปรับเปลี่ยนเพื่อเข้าสู่สภาพแวดล้อมใหม่ได้อย่างสำเร็จ
2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของหน่วยงาน และประกันว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามทิศทางที่ได้วางแผน และก่อให้เกิดความคุ้มค่า ประสิทธิภาพภายในระยะเวลาที่กำหนด พร้อมทั้งบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
สาเหตุและประเภทของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงภายในหน่วยงาน มีสาเหตุมาจาก 2 แหล่ง คือ
1. ภายนอก : เมื่อสภาพสังคม สถานการณ์ภายนอกองค์การเปลี่ยนแปลง
2. ภายใน : ความประสงค์และวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน
การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี 2 วิธี
1. การเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้ก่อน โดยรู้หรือคาดการณ์ล่วงหน้าว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง และเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นไว้ก่อน
2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการวางแผน เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้องค์การต้องเปลี่ยนแปลงอย่างเร่งด่วน
พล.อส สิทธิศักดิ ไชยมาตย์ 64423471358 ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ ตอบ การบริหารการพัฒนาเน้นการพัฒนาการบริหารมีองค์ประกอบอยู่2องค์ประกอบคือ 1.DofAคือการพัฒนาการบริหารเป็นการจดัเตรียมเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิบัติรูปการโครงสร้างกระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารให้มีเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็ง เพื่อที่จะรองรับนโยบายกับ 2.AofDคือการบริหารเพื่อการพัฒนาเป็นการเพิ่มสมรรถนะการบริหารให้เข้มแข็งขนึ้ ความสามารถท่ีมีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบตัติามนโยบายเพื่อรองรับภารกิจของการ บริหารการพฒันาที่วางแผนไว้ การพัฒนาการบริหาร D of A การเพิ่มพนูสมรรถนะหรือความสามารถของระบบการบริหารงานภายในคือโครงสร้าง กระบวนการและพฤตกิรรมการบริหารเพื่อรองรับปัญหาต่างๆที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของ สงัคม เพื่อให้บรรลเุป้าหมายปลายทางในการสร้างความเจริญก้าวหน้าทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงัคม เนือ้หาของการพัฒนาการบริหาร ครอบคลมุถึง โครงสร้าง กระบวนการ และพฤติ กรรมการบริหารที่เอื้ออำนวยตอ่การพัฒนายังครอบคลุมถึงสภาพแวดล้อมก็คือบรรยากาศการ บริหารและคณุภาพชีวิตในการทางาน แนวทางการพิจารณา แยกพิจารณาได้เป็น 2 ด้าน คือ 1.ด้านมหภาค เน้นเป็นการพัฒนาการบริหารด้านฝ่ายบริหาร กับฝ่ายการเมือง2.ด้านจลุภาคแนวทางการพฒันาการบริหารจะครอบคลมุถึงโครงสร้างกระบวนการและ พฤตกิรรมการบริหาร ขั้นตอนขอลการพัฒนาทางด้านการบริหาร สังคมเปลี่ยนแปลงตามลกัษณะทางด้าน บริหารนี้มีอย่ดู้วยกัน3ขั้นตอนใหญ่ๆคือสังคมการเกษตรกรรมไปสสูงัคมที่กาลงัเปลี่ยนแปลง ไปสู่สังคมอตุสาหกรรม
จ.ส.อ.อัศม์เดช มาทอง
64423471318
แนวคิดด้านปัจจัยสภาพแวดล้อมซึ่งมีอิทธิพลต่อการบริหารการพัฒนาของไทย ซึ่งประกอบด้วย 1. ความหมายและรูปแบบของสภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนา 2. ผลกระทบของสภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่มีต่อการพัฒนาพฤติกรรมซึ่งจำแนกเป็นผลกระทบจากภายนอกประเทศ ผลกระทบจากประชากร และผลกระทบของลักษณะทางกายภาพและสังคม และ 3. สภาพแวดล้อมซึ่งมีอิทธิต่อการบริหารการพัฒนาของไทย ซึ่งจำแนกเป็นสภาพแวดล้อมในระดับโลกและในระดับประเทศ สำหรับสภาพแวดล้อมระดับโลกประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบใหม่ของโลก การเกิดขึ้นของศูนย์กลางเศรษฐกิจใหม่ๆในโลก การกลายเป็นโลกแห่งสังคมผู้สูงอายุ การเกิดภาวะโลกร้อน และความสมดุลของวิกฤติทางด้านพลังงานและอาหารของโลก ส่วนสภาพแวดล้อมในระดับประเทศ ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาการบริหารระดับชาติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทางธรรมชาติ
พ.จ.ท.อากฤษดิ์ หลินโนนแดง รหัส นศ. 64423471334
การเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อม และองค์ประกอบต่างๆ จากอดีตสู่ปัจจุบัน
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรมนามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆ องค์การ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการบริหารเพื่อการพัฒนา หรืออาจรวมถึงสภาพ ภูมิศาสตร์ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรม ธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกบุคคล ระบบการเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น
องค์ประกอบของการบริหารการพัฒนา มีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ
1. หลักการพัฒนาการบริหาร หมายถึง การจัดเตรียม เปลี่ยนแปลง หรือปรับปรุง โครงสร้าง กระบวนการ/เทคโนโลยี และพฤติกรรมการบริหาร
2. หลักการบริหารเพื่อการพัฒนา หมายถึง การนำเอาความสามารถที่มีอยู่ในระบบบริหารมาลงมือปฏิบัติตามนโยบาย แผน แผนงาน โครงการหรือกิจกรรมพัฒนาจริงๆ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่วางแผนไว้ล้วงหน้า เช่น ด้านการบริหารโครงการพัฒนา ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ด้านการพัฒนาสังคม ด้านการพัฒนาการเมือง ด้านการพัฒนาเมืองและ ชนบท ด้านการพัฒนารัฐวิสาหกิจ ด้านการพัฒนาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ฯลฯ
ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศ ได้แก่ ประชากร เทคโนโลยี ชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3.สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ ซึ่งรวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบ หรือความขัดแย้งระหว่างองค์การกับบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหลังขององค์การกับความต้องการของบุคคล
ตัวอย่างการบริหารการพัฒนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทย
ฉบับที่ 1 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2504 – 2509) เน้นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ เช่น การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การสร้างเชื่อม ถนน น้ำประปา ไฟฟ้า ขยายการศึกษาออกไปยังชนบท และส่งเสริมสาธารณสุข สู่ประชาชน
ฉบับที่ 2 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2510 – 2514) เน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเหมือนฉบับที่ 1 คือ สร้างปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจต่อจากแผ่นที่ 1 ในแผนนี้เริ่มพัฒนากำลังคนและเห็นความสำคัญของการพัฒนาชนบท
ฉบับที่ 3 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2515 – 2519) เน้นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเหมือนฉบับที่ 1 – 2 เป็นครั้งแรกในช่วงแรกของแผนการพัฒนาประสบความสำเร็จ แต่ช่วงหลังประสบความล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ทำให้การลงทุนในประเทศ การส่งสินค้าออกและรายได้ของประเทศ เสียหาย
ฉบับที่ 4 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2520 – 2524) เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ตกต่ำ มุ่งสร้างความเป็นธรรมทางสังคม โดยลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจลงเสริมสร้างสวัสดิการทางสังคม แก่คนส่วนใหญ่ในชาติด้วยการขยายระบบการชลประทานและการปฏิรูปที่ดิน
ฉบับที่ 5 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2525 – 2529) เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจทั้งทางด้านการเงินของประเทศให้มั่นคง ปรับโครงสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ พัฒนาโครงสร้างและกระจายบริการทางสังคม แก้ปัญหาความยากจนในชนบทล้าหลัง (ภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ฉบับที่ 6 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2530 – 2534) เน้นการพัฒนาประเทศโดยการนำเอาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินให้มั่นคง ส่งเสริมการส่งสินค้าออกทั้งทางภาคเกษตรและอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 7 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 – 2539) พัฒนาเศรษฐกิจต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 มุ่งรักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและมีเสถียรภาพ มุ่งกระจายรายได้และกระจายการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคให้มากขึ้น ทั้งยังพัฒนาคุณภาพชีวิต และรักษาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ เริ่มโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้
ฉบับที่ 8 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 – 2544) เป็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิตคนไทย พัฒนาคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและยาวนาน กระจายความเจริญไปยังส่วนภูมิภาคโดยการพัฒนากลุ่มคนในชนบทกระจายอำนาจการบริหารออกไปยังภูมิภาคและท้องถิ่น พัฒนาจิตใจของมนุษย์ให้มีสมรรถภาพจิตใจที่ดี คุณภาพจิตใจดีและสุขภาพจิตดี พัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้มีความแข็งแรง อัตราการเพิ่มของประชากรอยู่ในระดับที่เหมาะสม
ฉบับที่ 9 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 – 2549) เป็นการพัฒนาประเทศภายใต้แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็งยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลก เกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ แก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง
ฉบับที่ 10 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 25550 – 2554) เป็นการพัฒนาประเทศให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ภายใต้แนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
- พัฒนาคนให้มีคุณภาพพร้อมคุณธรรมและรอบรู้อย่างเท่าทัน
- เพิ่มศักยภาพชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้
- เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม
- ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ส.ท.หญิง ณัฐพัชร์ เบาราญ
รหัสนักศึกษา 64423471345
การเปลี่ยนแปลงการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆ
- การพัฒนาการบริหาร หมายถึง การจัดเตรียม เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง สภาพแวดล้อม โครงสร้าง กระบวนการ รวมไปถึงเทคโนโลยี และ พฤติกรรมของการบริหาร
- การบริหารการพัฒนา หมายถึง ความสามารถในการลงมือปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงตามแผนที่ได้วางไว้ล่วงหน้า เพื่อความเจริญเติบโตทางการบริหาร
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
- หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปนามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และ รอบองค์กร สิ่งที่เป็นรูปธรรมดังนี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้างกระบวนการและพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร
- ในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม จะรวมไปถึงสภาพภูมิศาสตร์ ประชากร เทคโนโลยี กายภาพ และ ชีวภาพ มี 3 ประเภท ดังนี้
1. สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอก ได้แก่ ประชากร เทคโนโลยีและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคม และอุดมการ
2. สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมของประเทศ
3. สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ ซึ่งรวมไปถึงปฏิกิริยาตอบโต้หรือความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล
ประเทศไทยกับการบริหารการพัฒนา
- การพัฒนา หมายถึง “ความก้าวหน้า“ ถ้าเป็นเรื่องเศรษฐกิจจะเรียกว่าความเจริญทางเศรษฐกิจ ถ้าเป็นเรื่องสังคมจะเป็นเรื่องของการมีเหตุผล ตลอดจนระบบกลไกที่เอื้ออำนวยให้สามารถใช้เหตุผลเป็นหลักในการตัดสินใจ
- การพัฒนา หมายถึง “ความมั่นคง“ เราต้องการให้ระบบเศรษฐกิจเป็นระบบที่มั่นคงมีเสถียรภาพในสังคม
- การพัฒนา หมายถึง “ความเป็นธรรม” โดยเฉพาะความเป็นธรรมในลักษณะที่ประชาชนทุกคนเป็นสมาชิกของสังคม มีส่วนร่วมและได้รับผลตอบแทนจากการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามสมควร
การบริหารการพัฒนา ที่เน้นการพัฒนาทางการเมือง
- การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของประเทศไทย เป็นการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหรือสถานการณ์ทางการเมืองอย่างหนึ่ง ไปอีก อย่างหนึ่ง เน้นการเปลี่ยนแปลงทางด้านหน้าที่ในการปฏิบัติ มุ่งเน้นความสำเร็จและความเป็นไปได้ในทางโลก หากพิจารณาความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองประเทศไทยมันจะมีลักษณะวงจรที่แสดงดังต่อไปนี้
1. รัฐประหาร
2. การปกครองในระบบเผด็จการ
3. การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
4. การเลือกตั้ง
5. กระบวนการทางรัฐสภา
6. ข้อขัดแย้ง
7. วิกฤตการณ์
ส.อ.กฤษฏิ์ ใจบุญ รหัสนักศึกษา 64423471324
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ
ตอบ การเปลี่ยนแปลของสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน ทำให้หน่วยงาน และองค์กรณ์การบริหารต่างๆ
ต้องปรับตัวตามเพื่อให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของยุค และ สมัยของสังคม เพื่อไม่ให้เกิดการปรามาสว่าหน่วยงานมีความล้าหลัง หรือไม่ทันสมัยตามเทคโนโลยี ที่ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน
ยกตัวอย่างเช่น การนำเทคโนโลยีเข้ามาอำนวยความสะดวกต่อประชนในทางราชการ เพื่อลดเวลาในการมาทำธุรกรรมต่าง เช่น การให้บริการเานเอกสารออนไลน์ต่างๆ ของทางภาครัฐ อีกทั้งยังเป็นการง่ายต่อการบริหารและจัดการข้อมูลต่างๆ เนื่องด้วยมีฐานข้อมูลที่สามารถเรียกดูได้ทันที จึงก่อให้เกิดความสะดวกแก่ผุู้ให้และผู้ใช้บริการแทนการบันทึกเป็นเอกสารที่อาจก่อให้เกิดการถูกทำลาย สูญหาย ได้ง่ายหรือเปื่อยสลายไปตามกาลเวลา สิ้นเปลืองทรัพยาการคนในการดูแลและ สิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
ส.อ.หญิง ดวงกมล สาเกทอง รหัสนักศึกษา 64423471359
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ
ตอบ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆองค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าวนี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการบริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา)หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ผลประโยชน์ อุดมการณ์อารยธรรมธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงเป็นเทคนิคการจัดการ เป็นส่วนหนึ่งของความสามารถหลักของผู้บริหาร ( Core Competencies ) ในยุคปัจจุบันที่เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ที่ช่วยทำให้ผู้บริหารสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต จะต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับองค์การที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและมีการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวัง
ตัวอย่าง
ชายหาดบางแสนตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข ปัจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 44,312 คน แบ่งเป็ นชาย 19,929 คน หญิง 24,383 คน จำนวนบ้าน 23,925 หลังจำนวนครอบครัว 9,128 ครอบครัวผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 33,906 คน แบ่งเป็นชาย14,543 คน หญิง 19,363 คน ความหนาแน่นของประชากรภายในเขตเทศบาลเฉลี่ย 2,186 คนต่อตารางกิโลเมตร ประชากร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลตั้งแต่ปากคลองบางโปรงจนถึงหาดบางแสนล่าง และสองข้างเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ ได้แก่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข3 (ถนนสุขุมวิท) บริเวณตลาดหนองมนและทางหลวงจังหวัดหมายเลข3137 ซึ่งแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 เข้าสู่ชายหาดบางแสน ชายฝั่งทะเลบางแสนเป็ นหาดทรายยาวตั้งแต่แหลมแท่นไปสุดเขตเทศบาล ความลึกของท้องทะเล2 เมตร ปรากฏในระยะห่างจากชายฝั่งทะเลตั้งแต่600 เมตรถึง 2 กิโลเมตร ขึ้นไป ชายหาดบางแสนเป็นหาดสาธารณะในการส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐานการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว มาตรฐานด้านการบริการการท่องเที่ยว ประชาชนที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่เขตเทศบาลเมืองแสนสุขอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีก็ต้องมีความคิดเห็นต่อการส่งเสริม การท่องเที่ยวบริเวณชายหาดบางแสนของเทศบาลเมืองแสนสุขด้วย เพราะประชาชนเป็นผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียจากการส่งเสริมการท่องเที่ยว
นายณัฐพล ทรัพย์ประกอบ รหัสนักศึกษา64423471312
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ตอบ จากการเปลี่ยนแปลงในยุคสังคมปัจจุบันทำให้องค์กรต่างๆต้องมีการปรับตัวและเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ในที่นี้ขอยกตัวอย่างในส่วนของสมาคมกีฬา คือมวยไทย มวยไทยเป็นศิลปะประจำชาติทีมีความสำคัญในระดับบุคคล ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ช่วยให้คนเป็นผู้มีความสมบูรณ์ทางกาย และจิตใจ สามารถปรับตัวอยู่ได้ในสังคม และเป็นกิจกรรมทางสังคม ประเพณี ของคนในชุมชน ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ดำเนินการทำให้กีฬามวยไทยเป็นที่สนใจในระดับนานาชาติ มีกิจกรรมที่มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งการฝึกซ้อมเพื่อออกกำลังกายและแข่งขัน มีการตั้งชมรมและองค์กรมวยไทยในต่างประเทศ ส่งผลให้ชาวต่างชาติเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณีไทยมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงขาดการบริหารจัดการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้สังคมไทยเห็นความสำคัญของมวยไทย และการบรรจุเป็นกีฬาสากลเหมือนกีฬาชนิดอื่น เช่น เทควอนโด หรือยูโด จากการที่หน่วยงานภาครัฐที่มีการปรับตัวค่อนข้างช้า ทั้งในส่วนของระเบียบขั้นตอนต่างๆ ซึ่งขัดกับโลกในยุคปัจจุบัน ประกอบกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันที่มีความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การดำรงชีวิต ดังนั้นความร่วมมือในการบริหารจัดการทั้งในส่วนของภาครัฐ เอกชน และประชาชน จะมีส่วนสำคัญในการบริหารจัดการให้ดีขึ้น ดังมีกีฬามวยไทยเป็นตัวอย่าง
ส.ท.วิศิษย์ศักดิ์ โอวาระโก รหัส 64423471297
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน และตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐ
ตอบ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาอาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามมติต่างๆ คือ สภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติสถานที่ เช่น ผลงานของวอลโด และเฮฟพีย์ ดังกล่าวมาแล้ว สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน เช่น สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจยังแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอก และสภาพแวดล้อมทางการเมืองเศรษฐกิจภายในสภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติ คงที่ :ไหวตัว (เปลี่ยนแปลง) และสภาพแวดล้อม การบริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติผลกระทบ แต่ในที่นี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงเฉพาะสภาพแวดล้อมของการ บริหารการพัฒนาที่แบ่งตามมติเฉพาะด้าน และที่แบ่งตามผลกระทบนั้นซึ่งสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาเหล่านี้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
คือ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประชากร เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
1) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาจากภายนอกประเทศ อันได้แก่ ประซากรเทคโนโลยีและชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านสังคม และอุดมการณ์ เป็นต้น
2) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในประเทศ อันได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
3) สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ ซึ่งรวมถึงปฏิกิริยาโต้ตอบหรือความขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างความคาดหวังขององค์การและควาต้องการของบุคคล ทั้งนี้รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ภายในองค์การด้วย และปฏิกิริยาโต้ตอบและความขัดแย้งดังกล่าวนี้นี่เองที่เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรม (ที่พัฒนาหรือไม่พัฒนา) ของบุคคล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม
1.ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
2.ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลงพร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
3.ภาครัฐมีความโปร่งใสปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
4.กระบวนการยุติธรรมเป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศมีความโปร่งใส
1.ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
* ทุกภาคส่วนร่วมต่อต้านและป้องกันการทุจริต
- บุคลากรภาครัฐยืดมั่นในหลักคุณธรรม
ㆍ การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เป็นธรรมและตรวจสอบได้
ㆍ การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ
2.มีขนาดเล็กลงเหมาะสมกับการกิจ
ㆍ ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม
ㆍ ส่งเสริมการกระจายอำนาจและสนับสนุนบทบาทชุมชนท้องถิ่น
ㆍ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
3.มีความทันสมัยองค์กรภาครัฐมีความยึดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ
ㆍ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย
4.กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและมีความเสมอภาค
. บุคลากรและหน่วยงานเคารพและยึดมั่นในหลักประชาธิปไตยมีการปฏิรูปอย่างเท่าเทียม
. ทุกหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมมีบทบาทเชิงรุกร่วมกันในทุกขั้นตอนของการค้นหาความจริง
ㆍ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมมีเป้าหมายและยุทธศาสตร์ร่วมกัน
ㆍ ส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชน
ㆍ พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา
จ.ส.อ. พรพล พุ่มพินิจ 64423471337
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ตอบ เกิดผลกระทบของสภาพแวดล้อมการบริหารการพัฒนาที่มีต่อการพัฒนาพฤติกรรมซึ่งจำแนกเป็นผลกระทบจากภายนอกประเทศผลกระทบจากประชากรและผลกระทบของลักษณะทางกายภาพและสังคมและสภาพแวดล้อมซึ่งมีอิทธิต่อการบริหารการพัฒนาของไทยซึ่งจำแนกเป็นสภาพแวดล้อมในระดับโลกและในระดับประเทศสำหรับสภาพแวดล้อมระดับโลกประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบใหม่ของโลก การเกิดขึ้นของศูนย์กลางเศรษฐกิจใหม่ๆในโลกการกลายเป็นโลกแห่งสังคมผู้สูงอายุการเกิดภาวะโลกร้อนและความสมดุลของวิกฤติทางด้านพลังงานและอาหารของโลกส่วนสภาพแวดล้อมในระดับประเทศประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางด้านศรษฐกิจและสังคมการพัฒนาการบริหารระดับชาติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทางธรรมชาติหน่วยงานและบุคคลหันมาสนับสนุนนโยบายและให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารการพัฒนา ปรากฏเช่นนี้สื่อให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาจำเป็นต้องเข้าไปมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อมหน่วยงานเหล่านี้จะได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมเองก็จะได้รับผลกระทบจากการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานด้วย เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความสำคัญต่อการบริหารการพัฒนาและการบริหารการพัฒนามีความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมอาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคมอันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ผลประโยชน์ อุดมการณ์อารยธรรมธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
ส.ท. อนาวิณ สวาสดิ์เพชร
รหัส 64423471316
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนระดับโลกสร้างขึ้นจากความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษก่อนหน้าที่ประสานงานโดยสหประชาชาติและประเทศสมาชิก การรณรงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษเริ่มขึ้นในพ.ศ. 2543 และสิ้นสุดในพ.ศ. 2558 เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมโดยมุ่งเน้นเรื่องขจัดปัญหาความหิวโหย ความยากจนและความเหลื่อมล้ำ การไม่รู้หนังสือ ความเจ็บป่วยและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษโดยส่วนใหญ่ โดยประเทศไทยได้ใช้แนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นแนวทางให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา การเพิ่มศักยภาพของประชาชนและชุมชน ประเทศไทยยังคงมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาของโลกด้วยการช่วยเสริมสร้างความสามารถของเพื่อนบ้านในการบรรลุพันธกิจของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษและความพยายามในการพัฒนาในอนาคต
ส.ท.ปวริศร ไชยฉิม รหัส 64423471283
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆ จากอดีตสู่ปัจจุบัน
ตอบ การบริหารการพัฒนาโดยทั่วไป แล้วเป็นการวางแผนเพื่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ มีการกำหนดการใช้ ทรัพยากรเพื่อเพิ่มรายได้ประชาชาติ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ปรับปรุงระบบขนส่ง และการสื่อสารคมนาคม ปฏิรูประบบการศึกษา ระบบราชการ และหน้าที่อื่นๆ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่กำหนดไว้
เช่น รัฐบาลได้ลงมติเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจาของส่วนราชการ โดยกาหนดใช้บังคับ ระเบียบนี้ต้ังแต่วันที่ 1 ธ.ค. 2557 เป็นต้นไป ใช้กับผู้สำเร็จการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรีที่มี อัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างไม่ถึงเดือนละ 13,285 บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ 2,000 บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าใช้จ่ายแล้วต้องไม่เกินเดือนละ 13,285 บาท และ ข้าราชการหรือลูกจ้างประจำที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างรวมทั้งค่าครองชีพแล้วไม่ถึงเดือนละ 10,000 บาท ก็ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพอีกจนถึงเดือนละ 10,000 บาท ซึ่งระเบียบนี้รวมถึง ทหารกองประจาการด้วย
ส.อ. อนุชิต พรดอนก่อ 64423471315
ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของการบริหารการพัฒนาตามสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบต่าง ๆจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ตอบ สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆองค์การ และส่ิงท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าวนี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการบริหารเพื่อการพัฒนา (หรือการบริหารการพัฒนา)หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม
อาจรวมถึงสภาพแวดที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ประชากรเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม อันรวมถึงสหภาพแรงงาน กลุ่ผลประโยชน์ อุดมการณ์อารยธรรมธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงเป็นเทคนิคการจัดการ เป็นส่วนหนึ่งของความสามารถหลักของผู้บริหาร ( Core Competencies ) ในยุคปัจจุบันที่เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ที่ช่วยทำให้ผู้บริหารสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต จะต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับองค์การที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและมีการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวัง
ตัวอย่างการบริหารการพัฒนาของรัฐในโครงการพัฒนา ซึ่งรัฐบาลจัดสวัสดิการโดยรวมให้ด้วยการออกนโยบายสวัสดิการสำหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น เช่น
- นโยบายเรียนฟรีอนุบาล-ม.3 เด็กในวัยเรียนได้ เรียนฟรีจนจบชั้นมัธยมต้น
- ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง 30 บาท) ได้รับบริการทางสุขภาพ เช่น การป้องกันโรค การตรวจการรักษา การฟื้นฟูสุขภาพ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
- เบี้ยยังชีพผู้พิการ ได้รับเบี้ยยังชีพผู้พิการ 1,000 บาท/คน/เดือน
- กองทุนประกันสังคม ได้รับสิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไข เช่น การรักษาพยาบาล การทดแทนรายได้เมื่อว่างงาน สิทธิประโยชน์และความคุ้มครองเมื่อเสียชีวิต ทุพพลภาพ ชราภาพ เป็นต้น